Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |

ระบบช่วงล่าง | การทำงานของระบบรองรับรถยนต์ | Suspension System and Components




ระบบช่วงล่าง | การทำงานและหน้าที่ของโช๊คอัพ | โช๊คอัพสำหรับรถยนต์ Shock Absorbers


กล่าวถึงการใช้รถยนต์ในชีวิตประจำวัน เราหลายคนอาจจะดูแลใส่ใจห่วงใยรถยนต์ที่เราใช้งานในเรื่องต่างๆมากมาย แต่เรื่องหนึ่งที่ผมสังเกตว่าหลายคนดูจะละเลย คงไม่พ้นระบบช่วงล่างโดยเฉพาะโช๊คอัพ ตัวการสำคัญในการยึดคุณกับถนน และรถยนต์ทั้งคันพึ่งมันเพื่อการทรงตัวที่ดี และมั่นใจได้ยามขับขี่

โช๊คอัพ หรือ Shock Up มีความสำคัญในการขับขี่อย่างยิ่งยวด หลายคนอาจจะเคยได้ยินเรื่องราวของสปริงในรถยนต์ว่ามันช่วยให้เกาะถนนในระหว่างการขับขี่ หากสปริงยิ่งแข็งมากก็ยิ่งมีแรงเด้งมาก และหน้าที่ของโช๊คก็ไม่พ้นจำกัดแรงเด้งสะท้อนดีดตัวของชุดสปริงในระหว่างการขับขี่ เพื่อที่คุณจะไม่ได้รู้สึกเหมือนควบม้าทั้งๆที่ขับรถคันโปรด

หลักการทำงานของชุดโช๊คอัพไม่ว่าจะแพงหูฉีกเท่าไร ก็มีความเหมือนกันในการทำงาน มันอาศัยการแปรพลังงานจากแรงกระทำจากชุดสปริงต่อหูหิ้วบนของโช๊คไปเป็นแรงที่ส่งมายังชุดแกนโช๊คต่อไปยังลูกสูบโช๊คที่อยู่ภายในกระบอกโช๊ค

ที่นี่จะมีน้ำมันไฮดรอลิกอยู่ภายใน แรงดันระหว่างการทำงานจะแปรเป็นความร้อน และในชุดโช๊คจะมีวาล์วอีกตัว ซึ่งภายในจะเต็มไปด้วยรูเล็กๆ มากมาย อนุญาตให้น้ำมันจากในกระบอกแรงดันออกไปสู่พื้นที่สำรอง ทำให้ลูกสูบกลับคืนตัวได้ในระหว่างการทำงาน

การทำงานของโช๊คทุกแบบในปัจจุบัน มีอยู่ 2 จังหวะ คือ ส่วนจังหวะยืดตัว (Extension Cycle) และ จังหวะยุบตัว (Compression Cycle)

จังหวะยืดตัว เป็นจังหวะที่ชุดโช๊คตอบสนองต่อแรงกระแทกจากถนน เป็นจังหวะที่แรงจากถนนสะท้อนขึ้นสู่ตัวรถทำให้สปริงตอบสนองในการพยายามยืดรถกับถนน จึงส่งแรงกระทำที่เกิดขึ้นลงไปที่พื้นแต่มันมีดช๊คอัพเป็นผู้ช่วยในการจำกัดแรงกระทำที่เกิดขึ้น

ในจังหวะนี้ แรงที่ได้รับจากด้านจะถูกส่งไปยังหูหิ้วโช๊คทางด้านบนซึ่งที่ตัวหูหิ้วนี้จะยึดติดกับชุดแกนโช๊ค โดยปลายด้านหนึ่งของชุดแกนโช๊คออกแบบลูกสูบนั้น จะกดลงไปบันด้านล่างบีบอัดน้ำมันไฮดรอลิกที่อยู่ในห้องทางด้านล่าง ไปยังชุดวาล์วที่มีรูเล็กทำให้น้ำมันบางส่วนจะหนีไปยังพื้นที่สำรองทางด้านข้างและแรงดันดังกล่าวจะส่งให้โช๊คมีแรงดันตัวมันกลับขึ้นทางด้านบน

ทำนองเดียวกันในจังหวะยืดตัว โช๊คจะมีแรงจากด้านล่างขึ้นหาด้านบน ทำให้ลูกสูบไปบีบอัดน้ำมันที่อยู่ทางด้านบนเหนือลูกสูบ เพื่อมีแรงส่งให้ตัวโช๊คกลับลงมาทางด้านล่างได้จังหวะการทำงานต่อไป


ชุดโช๊คปัจจุบันมีหลายแบบหลายยี่ห้อ และหลายแบบมากมาย แต่หลักๆ แล้วที่จำหน่ายในปัจจุบัน มีเพียงไม่กี่แบบเท่านั้น เริ่มจาก

ชุดโช๊คแบบ Twin Tube คือ ชุดโช๊คแบบดั้งเดิมที่ได้รับการออกแบบมายาวนานน หัวใจหลักของโครงสร้างแบบ Twin Tube นั้นจะมีลักษณะคล้ายท่อสองชั้นประกบระหว่างกัน โดยชั้นนอกเป็นพื้นที่สำหรับให้น้ำมันไฮดรอลิกไหลเวียน และจำกัดแรงดัน ส่วนภายในเป็นห้องแรงดันบรรจุน้ำมันที่รองรับการขึ้นลงของชุดลูกสูบ



ทางด้านชุดโช๊คแบบ Mono Tube เดิมทีเป็นสิทธิบัตรของโช๊ครถยนต์แห่งหนึ่ง แต่เมื่อสิทธิบัตรขาดอายุในปี 1971 หลายบริษัทผู้ผลิตโช๊คหันมาทำโช๊คแบบนี้มากขึ้น และเริ่มกลายเป็นสิ่งที่เราคุ้นชินในปัจจุบัน

ความแตกต่างของชุดโช๊คแบบ Monotube กับ Twintube อยู่ที่การออกแบบภายในกระบอกสูบตัวโช๊คเป็นแบบชิ้นเดียว แต่ประกอบด้วยชุดวาล์ว 2 สูบ ในกระบอก โดยลูกสูบตัวหนึ่งจะต่อกับแกนโช๊คเหมือนตามปกติ ส่วนอีกสูบนั้นจะเป็นสูบที่กั้นระหว่างห้องน้ำมันไฮโดรลิกกับห้องแก๊สไนโตรภายในโช๊คอัพ และเมื่อแรงกดมีมาก แก๊สจะดันให้วาล์วที่กั้นระหว่างห้องสูงขึ้น เพื่อให้ลูกสูบที่ต่อกับแกนโช๊คคืนตัวอย่างรวดเร็ว ผลคือการตอบสนองต่อถนนที่รวดเร็วและนุ่มนวลกว่า

นอกจากโครงสร้างทั่วไปของตัวโช๊คแล้ว วัตถุรับแรงดันในตัวกระบอกโช๊คยังมีส่วนสำคัญต่อการทำงานของโช๊ค จึงถูกเรียกตามความเข้าใจของหลายคนว่า โช๊คนำมันและโช๊คแก๊ส

โช๊คน้ำมัน เป็นการเรียกชุดโช๊คอัพ ที่ใช้น้ำมันไฮดรอลิกเป็นวัตถุดิบหลักในการสร้างแรงดันต่อลูกสูบ โดยภายในจะบรรจุน้ำมันไฮดรอลิก 2 ความหนืดเอาไว้ โดยมากจะเป็นโช๊คแบบ Twin tube มีข้อดีคือราคาขายมักจะถูก แต่การตอบสนองต่อแรงสะเทือนนั้นอาจจะเชื่องช้ากว่าบ้าง และอายุการใช้งานอาจจะสั้นกว่าเนื่องจากระหว่างใช้งานโช๊คจะสะสมความร้อนไว้มากกว่าจากการออกแบบผนังสองชั้นทำให้น้ำมันเสื่อสภาพได้เร็ว มันดีพอจะเหมาะสำหรับการขับรถใช้งานทั่วไป

แต่ใครที่ต้องการโช๊คอัพสมรรถนะสูงหน่อยอาจจะต้องมองหา โช๊คน้ำมันกึ่งแก๊ส ซึ่งมีความสามารถในการตอบสนองที่ดีกว่า ด้วยในห้องน้ำมันสำรองทางด้านล่างจะถูกอัดด้วยแก๊สไนโตรเจนเอาไว้ ....ทำให้ตอบสนองต่อแรงกระแทกได้เร็ว และที่สำคัญโช๊คอัพแบบนี้จะเป็นแบบ Mono tube มันระบายความร้อนได้ดีกว่าในยามใช้งาน หากก็ต้องแลกด้วยราคาที่อาจจะแพงกว่า ....พอสมควร

ส่วนที่เหลือจากที่เรากล่าวมาในเรื่องลักษณะโช๊คและวัสดุอัดแรงที่อยู่ภายใน ก็เห็นทีจะเป็นฟังชั่นการใช้งานที่เหมาะสมกับแนวทางการขับขี่ของคุณว่ามีความต้องการอะไรบ้าง เช่นต้องการให้รถสูง-ต่ำได้ ก็อาจจะเลือกโช๊คอัพแบบ สตรัทปรับเกลียว ซึ่งสามารถปรับระยะความสูงของชุดสปริงรถได้ และนอกจากนี้โช๊คบางแบบยังอนุญาตให้คุณสามารถปรับความแข็งความหนืดได้ เหมาะมากสำหรับใครที่ต้องการปรับความเหมาะสมในการใช้งานชุดโช๊คให้เหมาะกับในระหว่างที่ขับขี่หรือความต้องการของเจ้าของรถได้


อย่างไรก็ดี สิ่งที่หลายคนอยากจะทราบคงไม่พ้นว่า เราจะทราบได้อย่างไรว่ารถที่เราใช้อาจจะถึงเวลาที่จะต้องเปลี่ยนโช๊คอัพแล้วหลังจากใช้งานมานาน เรื่องนี้ไม่ยากเลยครับ เพียงคุณสังเกตเวลารถกระเด้งกระดอนให้ดีว่า รถมีอาการยืดหรือหดตัวหลายครั้งหรือไม่ ถ้ามีแสดงว่า โช๊คคุณนั้นกลับบ้านเก่าไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว


นอกจากนี้คุณยังสามารถสังเกตได้จากรอยน้ำมันที่ชุดโช๊คหรือแกนโช๊คว่ามีคราบน้ำมันหรืไม่ เพราะคราบน้ำมันนั้นอาจจะมาจากตัวโช๊คเอง ซึ่งอาจหมายถึงกาลเวลาที่คุณนั้นน่าจะต้องได้เวลามองหาโช๊คต้นใหม่ หรือชุดใหม่มาใช้กับรถคุณแล้ว

โช๊คอัพรถยนต์ใครว่าไม่สำคัญ ....หลายคนขับรถมานานับปีไม่เคยสังเกตว่ารถมีอาการผิดแผกแปลกจากเดิมหรือไม่ จนบางครั้งรู้ตัวอีกทีก็สายไปเสียแล้ว ดังนั้นวันนี้ถ้าคุณต้องการโช๊คอัพที่มั่นใจได้แบบเดียวกับที่นักแข่งเลือกใช้ในสนาม ลองมาพบเรา Koni โช๊คอัพระดับตำนานจากสนามสู่ถนน ที่ได้รับความไว้วางใจมากกว่า 60 ปี ในวงการรถแข่ง

ที่มา : https://www.autodeft.com/tuningcorner/how-to-shock-up-absorber-work

ระบบช่วงล่าง | การเปรียบเทียบระหว่างโช๊คอัพดีและเสียแบบชัดๆ ว่ามันต่างกันอย่างไร | Good shock vs bad shock





สาธิตเทคนิคการประกอบแหวนลูกสูบเครื่องยนต์ | How To Install Piston Rings


สอนวิธีการใส่แหวนลูกสูบด้วยเทคนิคง่ายๆ ใครๆก็ทำได้ ถ้าคุณทำตามอย่างถูกต้อง เวลาประกอบแหวนลูกสูบของเครื่องยนต์อย่างไรไม่ทำให้แหวนหักได้


กรรมวิธีการผลิตก้านสูบ | Connecting rod manufacturing for re-engineered


หลักการทำงานของ VGT VNT Turbochargers ในเครื่องยนต์

แสดงหลักการทำงานของระบบ VGT VNT Turbochargers เทอร์ชาร์จเจอร์ของเครื่องยนต์ ด้วยรูปแบบแอนิเมชั่น3มิติ

วิธีโมดิฟายเครื่องยนต์ด้วยการขัดเงาห้องเผาไหม้ที่ฝาสูบของเครื่องยนต์ | Cylinder head modify

สาธิตขั้นตอนการขัดเงาผิวของบริเวณห้องเผาไหม้หัวลูกสูบและช่องผ่านอากาศวาล์วไอดีไอเสียที่ฝาสูบของเครื่องยนต์  Cylinder Head Porting Polishing เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานของเครื่องยนต์ให้ดีขึ้น


การปาดลูกสูบเพื่อโมดิฟายเครื่องยนต์ | Piston Modify Engine

สาธิตเทคนิคการใช้เครื่องMilling สำหรับปรับลดขนาดของความสูงของหัวลูกสูบเครื่องยนต์ ในมีขนาดที่พอดีกับปริมาตรของการอัดอากาศและส่วนผสมในห้องเผาไหม้ในเครื่องยนต์ 


การทำงานของระบบเบรคของรถยนต์ | อธิบายการทำงาน แบบเข้าใจง่าย | How Car Brake Works


แสดงการทำงานของระบบห้ามล้อในรถยนต์ (ระบบเบรค) Brake system in car  ที่จะทำให้เข้าใจได้ง่ายๆ ด้วยรูปแบบของสื่อเป็นภาพเคลื่อนไหว 2มิติ (Animation 2D) 

เฟืองท้ายลิมิเต็ดสลิปแบบใช้ทอร์กเซนซิ่ง (torque sensing limited slip differential)

เป็นเฟืองท้ายที่ประกอบด้วยเฟืองตัวหนอนจำนวนสองตัว เฟืองเดือยจำนวนสองตัว เฟืองข้างและแหวนกันรุน แรงขับของเฟืองท้ายจะเกิดขึ้นได้จากความฝืดของหน้าสัมผัสระหว่างเฟืองตัวหนอนกับเฟืองข้างที่ขบกัน และตัวเรือนเฟืองท้าย แหวนกันรุนกับเฟืองข้าง ซึ่งก็จะทำให้แรงขับของเฟืองท้ายแบบนี้เปลี่ยนแปลงและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อให้สอดคล้องกับแรงบิดที่ต้องการใช้

ภาพตัดแสดงส่วนประกอบของเฟืองท้ายลิมิเต็ดสลิปแบบทอร์กเซนซิ่ง

แสดงส่วนประกอบของเฟืองท้ายลิมิเต็ดสลิปแบบทอร์กเซนซิ่ง

donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved