แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ห้ามล้อ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ห้ามล้อ แสดงบทความทั้งหมด
การทำงานของระบบส่งกำลังและระบบห้ามล้อของรถยนต์
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:46
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยียานยนต์,
รถรุ่นเก่า,
ระบบส่งกำลัง,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
หลักการพื้นฐานของระบบเบรก
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:40
- ทางกล (คานดีด คานงัด)
- แรงทางไฮดรอลิก
ล้อจะลดความเร็วโดยอาศัยแรงเสียดทาน ระหว่าง เบรก กับ จานล้อ และแรงเสียดทานของล้อกับถนน ในหน้าถัดไป ฟิสิกส์ราชมงคลจะอธิบายความหมายของระบบต่อไปนี้
- คานดีด คานงัด
- ไฮดรอลิก
- แรงเสียดทาน
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ระบบเบรกรถยนต่ทำงานอย่างไร?
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:33
เมื่อเราเหยียบเบรก ความเร็วของรภจะลดลง และหยุดในที่สุด แต่คุณทราบไหมว่า มีอะไรเกิดขึ้นบ้างขณะที่คุณเหยียบมัน แรงที่เท้าของคุณส่งไปที่ล้อได้อย่างไร และทำไมเกิดแรงมากมายที่สามารถหยุดรถขนาดหนักเป็นตันได้
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ข้อดีและข้อเสียของระบบเบรค ABS
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:25
ข้อดีของ ABS
- ป้องกันล้อล็อกเมื่อต้องเบรกกะทันหัน ควบคุมพวงมาลัยให้ไปตามทิศทางที่ต้องการ
- ยางไม่สึกหรอไว
ข้อเสีย
- มีเสียงดังเมื่อระบบทำงาน อาจทำให้ตกใจได้
- มีอาการสะเทือนเข้ามาถึงภายในรถ
- เพิ่มระยะเบรกยาวขึ้น
- มีค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงแพงกว่าเบรกธรรมดา
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ระบบเบรค ABS ทำงานอย่างไร ?
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:20
ABS จะประกอบด้วยฟันเฟืองวงแหวนที่ติดตั้งอยู่กับเพลาหมุนพร้อมเซ็นเซอร์ เมื่อล้อรถเริ่มหมุนฟันเฟืองจะหมุนตาม จากนั้นเซ็นเซอร์ก็จะทำการตรวจจับความเร็วการหมุนของฟันเฟือง แล้วรายงานอัตราความเร็วที่ได้มาไปให้กล่องสมองกล ABS ซึ่งปกติทั่วไปทุกล้อจะมีเซ็นเซอร์เพื่อตรวจสอบความเร็วติดอยู่ทุกล้อ
เมื่อทำงานสมองกล ABS จะสั่งการให้ชุดปั๊มเบรกทำงาน โดยจะมีการจับและปล่อยระหว่างจานเบรกกับผ้าเบรกที่ 16-50 ครั้งต่อวินาที หรือเปรียบได้ว่าเบรกและปล่อยรัว ๆ แบบอัตโนมัติทำให้ล้อไม่ล็อก ผู้ขับสามารถควบคุมทิศทางของรถได้
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ระบบเบรค ABS คืออะไร?
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:16
ระบบเบรค ABS คืออะไร ทำงานอย่างไร
ระบบเบรค ABS ย่อมาจาก Anti-Lock Brake System หรือระบบป้องกันการเบรคจนล้อล็อกตาย ซึ่งเกิดมาจากการแก้ไขปัญหาการเบรครถแล้วเกิดการลื่นไถล ระบบ ABS จะประกอบด้วยฟันเฟืองวงแหวนที่ติดตั้งอยู่กับเพลาหมุน และจะมีเซนเซอร์ติดตั้งอยู่ใกล้กับฟันเฟือง เมื่อล้อรถเริ่มหมุนฟันเฟืองจะหมุนตาม แล้วเซนเซอร์ก็จะทำการตรวจจับอัตราการหมุนของฟันเฟือง แล้วรายงานอัตราความเร็วดังกล่าว ไปให้ระบบ ABSซึ่งโดยปกติทั่วไปทุกล้อจะมีเซนเซอร์เพื่อตรวจสอบความเร็วติดอยู่ทุกล้อ โดย ABS จะสั่งการผ่านเซนเซอร์ตัวนี้ เพื่อให้ชุดปั้มเบรคทำงาน โดยจะมีการจับและปล่อยระหว่างจานเบรคกับผ้าเบรคที่ 16-50 ครั้ง/วินาที เพราะการที่จับกันเร็วอย่างนี้จะทำให้ผู้ขับสามารถควบคุมทิศทางของรถได้ในขณะที่เหยียบเบรคกระทันหันเพื่อหลบสิ่งกีดขวาง หรืออุบัติเหตุ หรือเบรคในระยะที่สั้นกว่าปกติ
ABS จะทำงานก็ต่อเมื่อ ผู้ขับเหยียบเบรคเร็วและแรงกว่าปกติ หรือประมาณ 80% ซึ่งระบบจะเริ่มทำงานเองโดยอัตโนมัติ เราจะรู้สึกว่าระบบเริ่มทำงานนั่นก็คือ จะเกิดเสียงดังครืดเข้ามาในห้องผู้โดยสาร เนื่องจากการควบคุมแรงดันน้ำมันของระบบ ABS ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ขับเกิดอาการตกใจได้ แต่ห้ามถอนน้ำหนักจากเบรค ให้ผู้ขับเหยียบเบรคค้างไว้แล้วหักหลบจากสิ่งกีดขวาง แล้วจึงค่อยถอนแรงเหยียบจากเบรค อีกข้อที่ห้ามทำคือการย้ำเบรค เพราะจะไปทำให้แรงดันน้ำมันจะลดลง จึงทำให้ระบบ ABS ไม่ทำงาน แต่จากที่มีการพัฒนาระบบ ABSมากขึ้น ทุกวันนี้จึงกลายมาเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญส่วนหนึ่งในรถยนต์ เช่น HONDA JAZZ, TOYOTA YARIS, MAZDA 2 ตัวใหม่ทั้งหลายก็มีติดตั้งมากับตัวรถ
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
จะสังเกตุอาการของเบรครถยนต์ของคุณอย่างไรว่า ใกล้จะมีปัญหาแล้ว
Posted by Contemporary industry
Posted on 04:01
1. เบรกดัง
มักมาจากเสียงเสียดสีของผ้าเบรคกับจาน เบรครถยนต์ เช่น จานเบรคเป็นรอยเนื่องจากฝุ่น หรือผ้าเบรคไม่ได้มาตรฐาน ผ้าเบรคมีรอยร้าว หรือแม้แต่เปลี่ยนผ้าเบรค แล้วไม่ได้เจียร์จานเบรค ทำให้ผ้าเบรคและจานเบรคไม่แนบกันสนิท จนเกิดเสียงเสียดสีขึ้น
อาการ : มีเสียงดังขณะเบรกให้สังเกตว่าดังมาจากจุดใด ดังทุกล้อ หรือแค่ล้อใดล้อหนึ่ง ถ้าดังเป็นคู่ เช่น คู่หน้าหรือหลัง ส่วนใหญ่เกิดจากผ้าเบรกและจานเบรกที่อาจจะหมดแล้วเสียดสีกัน
แต่ถ้าดังบางจุด อาจเกิดจากมีฝุ่นหรือหินหลุดเข้าไปเสียดสีระหว่างผ้าเบรกกับจานเบรก จึงควรตรวจสอบและแก้ไข บางกรณีก็อาจเกิดจาการใช้ผ้าเบรกที่ผลิตไม่ได้มาตรฐาน ทางที่ดีควรเลือกใช้ผ้าเบรกจากโรงงานหรือยี่ห้อที่มีมาตรฐานเท่านั้น
2. เบรกแตก
หากมีปัญหาเบรกแตกนับได้ว่าอันตรายที่สุด
สาเหตุ
- น้ำมันเบรครั่วจากระบบ อาจมีการแตกชำรุด ของอุปกรณ์จนทำให้น้ำมันเบรคไหลออก จนไม่สามารถส่งถ่ายแรงดันไปกดกระบอกสูบเบรคได้ เช่น ท่อแป๊บน้ำมันเบรค ลูกยาง ตามจุดต่างๆเสื่อมสภาพ
- ผ้าเบรคหมด จนหลุดออกมา กรณีที่ไม่สังเกตผ้าเบรค และปล่อยจนผ้าเบรคหมด ตัวผ้าเบรคจะบางจนหลุดจากฝักก้ามเบรค และจะทำให้ลูกสูบเบรคหลุด
- ส่วนประกอบหลุดหลวม ซึ่งก็มีหลายจุดที่ให้ตรวจเช็ค เช่น สากแป้นเบรค น็อตยึดขาเบรค ฝักเบรก คาริบเปอร์ ซึ่งขับไปนานๆก็อาจมีการหลวม เคลื่อนได้ และอาจมากจนหลุดออกมา
- สายอ่อนเบรคแตก เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด สายอ่อนเบรคนั้น เวลาจอดจะไม่เห็นสิ่งผิดปกติ แต่เมื่อเสื่อมสภาพ สายพวกนี้เวลาเบรคจะพองตัว ไม่สามารถส่งน้ำมันไปยังกระบอกเบรคได้เต็มที่ และกรณีที่เบรคแรงๆ สายอ่อนนี้อาจแตกได้ ทำให้เบรคแตกอันตรายที่สุด หรือ บางทีช่างที่เปลี่ยนผ้าเบรกควลาใส่แล้วางตำแหน่งสายอ่อนเบรคไม่ดีจะทำให้สายเสียดสีกับล้อจนเสียหายได้ในที่สุด
อาการ : เวลาเหยียบแป้นเบรกจะจม จนกดติดพื้น และไม่มีการลดหรือชะลอความเร็ว ซึ่งจะเกิดอุบัติเหตุไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
3. เบรกสั่น
สาเหตุเกิดจากจานเบรกคดบิดตัว สึกหรอไม่สม่ำเสมอ ซึ่งเกิดขึ้นได้เมื่อใช้งานอย่างรุนแรงเกินไป หรือจานเบรกไม่ได้มาตรฐาน สาเหตุอื่นๆ เช่น เบรกความร้อนสูงแล้วลุยน้ำ อาการนี้เกิดได้ทั้งระบบดิสก์เบรกและดรัมเบรก ควรไปตรวจเช็คและเจียรจานเบรก
อาการ : เหยียบเบรกเบา ๆ แล้วแป้นเบรกสั่นขึ้น-ลง ระยะเริ่มแรกจะส่งอาการมาเบา ๆ ที่แป้นเบรก แต่ถ้าเยอะมาก ๆ อาจรู้สึกสั่นถึงพวงมาลัย หากปล่อยไว้ถึงชั้นรุนแรงอาจสั่นสะท้านไปทั้งคัน
4. เบรกทื่อ
เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น หม้อลมเบรกเริ่มรั่วซึมจากชุดผ้าใบภายในหรือวาล์ว PVC หรือ Combo Vale เสีย ทำให้แรงสุญญากาศของหม้อลมน้อย สำหรับรถเครื่องยนต์ดีเซล อาจเป็นที่ปั๊มสุญญากาศที่บริเวณตูดไดชาร์จเสียรวมทั้งสายลมรั่ว เป็นต้น ควรรีบแก้ไขโดยด่วน
อาการ : เหยียบเบรกแล้วรู้สึกไม่ค่อยอยู่ จะรู้สึกเบรกแข็งๆ ต้องออกแรงเหยียบเบรกมากกว่าปกติ อาการเบรกตื้อๆ
ส่วนมากเกิดจากลูกยางแม่ปั๊มเบรกตัวบนสึกหรอ หรือบวม ทำให้แรงดันเบรกลดลง ต้องออกแรงเบรกมากขึ้น หรือทำให้ต้องย้ำเบรก ควรรีบแก้ไขโดยด่วน เพราะสิ่งที่จะตามมาคือเบรกแตก
อาการ : เหยียบเบรกแล้วแป้นเบรกจมลงต่ำกว่าปกติ หากเหยียบค้างไว้แล้วแป้นเบรกค่อย ๆ จมลง ๆ นั่นเป็นอาการของเบรกจมบ้างก็เรียกเบรกต่ำ
6. เบรกหมด
คือ ผ้า เบรกรถยนต์ ที่ใช้ไปหมดจนเหลือแต่แผ่นรองเบรก จนเกิดการเสียดสีกับจานเบรกอย่างรุนแรง ก่อนจะเกิดอาการนี้ ผ้าเบรคทั่วไปจะมีลิ้นยื่นออกมาเพื่อเป็นตัวเตือน เวลาผ้าเบรคใกล้หมด ซึ่งลิ้นนี้จะขุดกับจานเบรค จิ๊ดๆ บอกเราว่าผ้าเบรคบางแล้ว ซึ่งกลหากไม่แก้ไขจนผ้าเบรคหมดก็คงต้องเปลี่ยนจานเบรค สำหรับในรถรุ่นใหม่ๆ จะมีเซนเซอร์เตือนผ้าเบรคบอกบนหน้าปัดแล้ว
อาการ : เบรกแล้วเกิดเสียงดังเหมือนเหล็กเสียดสีกัน หากเริ่มได้ยินเสียงเหมือนเหล็กเสียสีกัน และเบรกมีอาการลื่นๆ นี่คืออาการของผ้าเบรกหมด จนโลหะของแผ่นผ้าเบรกสีกับจานเบรก ต้องรีบเปลี่ยนโดยทันที หากปล่อยทิ้งไว้จะทำให้ผ้าเบรกสีกับจานเบรกจนเสียหาย เผลอ ๆ ล
7. เบรกติด
สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการที่ลูกยางกันฝุ่นของแม่ปั๊มเบรกฉีกขาด ทำให้มีน้ำซึมเข้าไปในกระบอกเบรกจนเกิดสนิท ติดขัดลูกสูบเบรกไม่สามารถเคลื่อนตัวเข้า-ออกได้ รวมถึงปัญหาซีนยางบวมผิดรูป ทำให้ลูกสูบที่คาลิปเปอร์เบรกไม่เลื่อนกลับ
อาการ : ปล่อยเบรกแล้ว แต่ยังมีแรงเบรกทำงานอยู่ อาการนี้เบรกจะทำงานอยู่ตลอดเวลา โดยที่เราไม่ทันได้เหยียบเบรก รถจะตื้อ ๆ เบรกร้อนมีกลิ่นเหม็นไหม้ จอดแล้ว เข็นรถยาก หรือไม่ได้เลย เป็นอาการของเบรกติด
8. เบรกปัด
อาจเกิดจากคราบน้ำมันหรือสารหล่อลื่นของชุดช่วงล่างกระเด็นมาโดนจานเบรก ทำให้ผิวลื่นมัน ความฝืดลดลง หรือเกิดจากประสิทธิภาพการสึกหรอของชุดคาลิปเปอร์เบรกที่มีแรงกดในแต่ละฝั่งแตกต่างกัน
อาการ : เบรกแล้วรถปัดเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หากเบรกแล้วรถมีอาการปัดเอียงไปทางซ้าย แสดงว่าจุดที่คุณจะต้องตรวจสอบระบบเบรกอยู่ทางด้านขวา
9. เบรกเฟด
เกิดจากความร้อนของจานเบรกกับผ้าเบรดที่สูงเกินไป มาจากการใช้งานหนักเกินไป อาการเบรกเฟดนี้ ถือเป็นปัญหาของนักแข่งรถที่ชอบใช้เบรกแบบรุนแรง เบรกบ่อยๆ ติดต่อกันและมักเกิดกับรถที่ขับด้วยความเร็วสูง หากเคยมีอาการก็ควรปรับใช้ผ้าเบรกที่คุณภาพสูงขึ้นและน้ำมันเบรกที่มีค่า DOT สูงขึ้นกว่าเดิม
อาการ : เบรกแล้วลื่น เบรกไม่อยู่ในขณะที่ใช้ความเร็วสูงในเส้นทางขึ้นลงเขา อาจทำให้เราใช้เบรกต่อเนื่องมากเกินไป หรือในช่วงที่ใช้ความเร็วสูงมาก ๆ พอแตะเบรกครั้งแรกก็ปกติ แต่พอแตะเบรกอีกหลายๆ ที่กลับเกิดอาการลื่นเบรกไม่ตอบสนองซึ่งอันตรายมาก
10. เบรกสะท้าน
อาการ : เบรกกะทันหันแล้วเกิดเสียงดังกระพือ แป้นเบรกสั่นสะท้าน ถ้าเคยเจอกับอาการนี้ แต่ไม่ได้เป็นทุกครั้ง เจอแค่ตอนเบรกอย่างเต็มที่ และถ้ารถของคุณมีระบบเบรก ABS ก็ไม่ต้องตกใจ นั่นคืออาการจากการทำงานของชุดปั๊ม ABS ซึ่งจะเข้ามารับหน้าที่สร้างแรงเบรก 15-17 ครั้ง ต่อวินาทีแทนคุณทันที ที่คุณเบรกแบบฉุกเฉินจนล้อล็อค นั่นก็เพื่อให้คุณสามารถควบคุมทิศทางรถขณะเบรกกะทันหันอย่างเต็มที่ได้ ซึ่งเป็นอาการปกติเมื่อระบบ ABS ทำงาน
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ดรัมเบรค Drum brakes คือ ?
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:48
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ดิสก์เบรค (Disc Brake) คือ ?
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:42
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ชนิดของเบรค มีอะไรบ้าง ?
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:37
ชนิดของเบรค ได้แก่
- ดรัมเบรค (Drum Brake)
- ดิสก์เบรค (Disc Brake)
- ดรัมเบรค (Drum Brake)
ในชุดเบรคแบบดรัม ประกอบด้วยตัวดรัม (Drum) เป็นโลหะวงกลมยึดติดกับดุมล้อ หมุนไปพร้อมล้อ และชุดฝักเบรค ซึ่งประกอบด้วยผ้าเบรค กลไกปรับตั้งเบรค สปริงดึงกลับ และลูกสูบปั้มเบรค ซึ่งสายน้ำมันเบรค ก็จะมาเชื่อมต่อกับตัวลูกสูบนี่แหละ ในการดันผ้าเบรคให้ไปเสียดทานกับดรัม เพื่อให้เกิดความฝืด
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
หน้าที่ของเบรกรถ | การทำงานของระบบเบรกรถยนต์
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:33
นั่นก็คือคือ ในขณะที่เราเหยียบเบรคลงที่แป้นเบรค แรงเหยียบนี้ จะถูกส่งไปที่แม่ปั้มน้ำมันเบรค (Master Cylinder) เพื่อทำหน้าที่อัดแรงดันน้ำมันเบรค ออกไปตามท่อน้ำมันเบรค ผ่านวาล์วแยก ส่วนน้ำมันเบรค ไปจนถึงตัวเบรค ซึ่งติดตั้งอยู่บริเวณดุมล้อ และที่ตัวเบรค ก็จะมีลูกปั้มน้ำมันเบรค เมื่อได้รับแรงดันมา ลูกปั้มน้ำมันเบรคจะดันให้ผ้าเบรค ไปเสียดทานกับชุดจานเบรคที่อยู่ใกล้ กับจานดิสก์เบรค หรือ ดรัมเบรค เมื่อเกิดความฝืดขึ้น ล้อก็เริ่มหมุนช้าลง เมื่อเพิ่มน้ำหนัก เหยียบเบรคเข้าไปอีก แรงดันน้ำมันเบรคเพิ่มมากขึ้น ก็ยิ่งมีความฝืดที่ล้อเพิ่มขึ้น รถก็จะชลอความเร็วลง จนรถหยุดในที่สุด
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
การใช้งานระบบเบรครถยนต์ | Car brake
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:21
เมื่อขับรถบริเวณที่น้ำท่วมหรือเมื่อผ้าเบรคและจานเบรคเปียกน้ำ จะส่งผลให้การห้ามล้อของผ้าเบรคและจานเบรคมีประสิทธิภาพลดลง ดังนั้นขณะขับรถควรลองเหยียบเบรคประมาณ 3-4 ครั้งเพื่อทำการไล่น้ำออกจากผ้าและจานเบรค
ขณะขับรถลงทางชันหรือภูเขา หากเหยียบเบรคหรือใช้งานเบรคมากๆ อาจส่งผลให้ผ้าเบรคและจานเบรคมีความร้อนสะสมสูง ตลอดจนน้ำมันเบรคมีอุณหภูมิที่สูงขึ้นด้วยซึ่งอาจทำให้น้ำมันเบรคเดือด ซึ่งจะก่อให้เกิดฟองอากาศในระบบน้ำมันเบรคส่งผลให้แรงดันน้ำมันเบรคลดลง อันจะส่งผลต่อการห้ามล้อต่อไป ดังนั้น เมื่อขับรถลงทางชันหรือภูเขา ควรเปลี่ยนเกียร์เป็นเกียร์ที่ตำแหน่ง 3 หรือ 2 เพื่อให้เครื่องยนต์ช่วยเบรค(Engine brake)
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
ความรู้เรื่องระบบเบรครถยนต์ | ส่วนประกอบหลักๆ ที่สำคัญมีอะไรบ้าง?
Posted by Contemporary industry
Posted on 03:16
ระบบเบรครถยนต์จะมีวงจรน้ำมันเบรค 2 วงจรแยกน้ำมันเบรคออกจากกัน ซึ่งเมื่อน้ำมันเบรครั่วซึมที่วงจรใดวงจรหนึ่ง ระบบเบรคของอีกวงจรก็ยังสามารถทำงานเพื่อห้ามล้อได้ โดยระบบเบรครถยนต์ประกอบด้วยอุปกรณ์ดังต่อไปนี้
1.แป้นเหยียบเบรค
2.หม้อลมเบรค(Brake booster หรือ Power booster) ภายในจะเป็นสุญญากาศช่วยเพิ่มแรงกดที่รับมาจากแป้นเหยียบเบรคมากขึ้น
3.แม่ปั๊มเบรค(Master cylinder) ทำหน้าที่เปลี่ยนแรงที่รับมาจากหม้อลมเบรคให้เป็นแรงดันน้ำมันไฮดรอลิคหรือแรงดันน้ำมันเบรคเพื่อที่จะส่งผ่านท่อน้ำมันเบรคไปยังชุดห้ามล้อต่อไป
3.ชุดห้ามล้อ มี 2 ชนิด ได้แก่
ชุดห้ามล้อแบบ Disc brake เมื่อได้รับแรงดันน้ำมันเบรค Caliper ซึ่งมีผ้าเบรค (Disc brake pad)ติดอยู่จะทำการหนีบผ้าเบรคเข้ากับจานเบรค
ชุดห้ามล้อแบบ Drum brake เมื่อได้รับแรงดันน้ำมันเบรคฝักเบรค (Brake shoe) ซึ่งมีผ้าเบรค(Drum brake pad)ติดอยู่จะทำการดันผ้าเบรคเข้ากับจานเบรค
ป้ายกำกับ:
เบรค,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
การทำงานของระบบเบรคของรถยนต์ | อธิบายการทำงาน แบบเข้าใจง่าย | How Car Brake Works
Posted by Contemporary industry
Posted on 23:45
แสดงการทำงานของระบบห้ามล้อในรถยนต์ (ระบบเบรค) Brake system in car ที่จะทำให้เข้าใจได้ง่ายๆ ด้วยรูปแบบของสื่อเป็นภาพเคลื่อนไหว 2มิติ (Animation 2D)
ป้ายกำกับ:
เบรค,
รถยนต์,
ระบบเบรค,
ระบบห้ามล้อ,
ห้ามล้อ,
Brake,
Brake system
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)