Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |
Home » » หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

รวมข่าวสาร ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ | ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ | การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้านยนต์กรรม | รวมข้อมูลทั่วไปของเทคโนโลยีต่างๆด้านยานยนต์ car donation in new york | car donation los angeles | car donation oakland | car donation programs | car donation sacramento | car donation san francisco | car donation san jose | car donation tax | car donation tax value | car donation tax write off | car donation to charity | cars for donation | charities that accept car donations |


            เครื่องยนต์ทุกชนิดผู้สร้างนั้นมีความต้องการที่จะให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างก็   ตรงลักษณะของการใช้งานและวิธีการจุดระเบิดน้ำมันเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ ระบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์และจังหวะการทำงานของเครื่องยนต์แต่ละชนิด  ส่วนประกอบที่สำคัญจะคล้ายกันหรือเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่  เพื่อให้เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องยนต์  จำเป็นที่จะต้องศึกษาและพิจารณาถึงลักษณะต่างๆ   ทางทฤษฎีให้สอดคล้องกับการทำงานของเครื่องยนต์ทั้งแบบแก๊สโซลีนและดีเซล  ซึ่งจะเริ่มการทำงานด้วยการดูดส่วนผสมของน้ำมันกับอากาศหรืออากาศเพียงอย่างเดียว  แล้วอัดส่วนผสมของอากาศนั้นจุดระเบิดทำให้แก๊สขยายตัวขับไล่ไอเสียหรือคายไอเสีย  แต่หลักการที่ทำให้เครื่องยนต์ที่ทำให้เครื่องยนต์ดีเซลแตกต่างจากเครื่องยนต์แก๊สโซลีนคือ  การจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเข้ากระบอกสูบ  และการสันดาปของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศที่บรรจุในกระบอกสูบ  โดยในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนจะมีคาร์บูเรเตอร์ทำหน้าที่เป็นตัวจ่ายส่วนผสมอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิงในสัดส่วนที่ถูกต้อง  และปริมาณที่เหมาะสมทุกสภาวะการทำงานของเครื่องยนต์ถ้าพิจารณากันจริงๆแล้ว  จะเห็นว่าเครื่องยนต์แก๊สโซลีนจะมีขั้นตอนที่สับสับซ้อนมากกว่าเครื่องยนต์ดีเซล
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ
            การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะจะมีลักษณะการทำงานคือ ใน 1 กลวัตร ลูกสูบจะต้องเคลื่อนที่ขึ้น-ลง 4 ครั้ง คือ ขึ้น 2 ครั้ง ลง 2ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ จะได้กำลัง 1 ครั้ง จังหวะการทำงานจะหมุนเวียนกันอยู่เช่นนี้ตลอดไป จนกว่าจะหยุดเดินเครื่องยนต์ 
     จังหวะที่ 1 จังหวะดูด  (Intake  Stroke) จังหวะนี้ลูกสูบจะเคลื่อนที่จากศูนย์ตายบนลงสู่ศูนย์ตายล่าง  ขณะเดียวกันลิ้นไอดีจะเปิดรับส่วนผสมของอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิง สำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีนหรือเปิดรับส่วนผสมของแก๊สเหลวกับอากาศ สำหรับเครื่องยนต์แก๊สเหลวและถูกดูดเข้ามาบรรจุอยู่ภายในกระบอกสูบ  โดยผ่านทางลิ้นไอดี จังหวะนี้จะติดต่อกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนที่ลงถึงศูนย์ตายล่างจึงจะหมดจังหวะดูดโดยที่ส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศ หรือส่วนผสมของแก๊สเหลวกับอากาศจะถูกดูดมาบรรจุไว้จนเต็มภายในกระบอกสูบ



       จังหวะที่ 2จังหวะอัด (Compression Stroke)จังหวะนี้จะเกิดขึ้นต่อเนื่องจากจังหวะแรกคือ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงถึงศูนย์ตายล่างจากนั้นลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ในขณะเดียวกันลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียจะปิดสนิท ส่วนผสมของอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิงหรือแก๊สเหลวกับอากาศภายในกระบอกสูบจะถูกอัดตัวขึ้นไปเรื่อยๆ  ตามสภาพการเคลื่อนตัวของลูกสูบ จังหวะนี้จะสิ้นสุดลงก่อนที่ลูกสูบจะเคลื่อนที่ถึงศูนย์ตายบนเล็กน้อย







       จังหวะที่ 3จังหวะระเบิด (Expansion Stroke) บางทีเรียก จังหวะงาน (power Stroke) จะเกิดขึ้นในตอนปลายจังหวะอัด โดยส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศหรือแก๊สเหลวกับอากาศจะถูกจุดระเบิดด้วยประกายไฟจากหัวเทียน จึงทำให้เกิดการเผาไหม้และการระเบิดซึ่งผลักดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ลง และทำให้ได้งานจากจังหวะนี้









       จังหวะที่ 4จังหวะคาย (Exhaust Stroke)หลังจากที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงแล้วเนื่องจากแรงระเบิดจนเกือบถึงศูนย์ตายล่าง เป็นขณะเดียวกันกับลิ้นไอเสียจะเปิดและปล่อยให้ไอเสียซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ออกไปจากกระบอกสูบและยังคงเปิดอยู่จนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้น จากการเคลื่อนตัวขึ้นของลูกสูบในจังหวะนี้ จะช่วยในการขับไล่ไอเสียออกอีกครั้งหนึ่ง แล้วจึงเวียนเข้ามาจังหวะดูดอีก และจะเป็นเช่นนี้ ตลอดเวลาที่เครื่องยนต์ทำงานอยู่จะเห็นได้ชัดเจนว่าเครื่องยนต์จะทำงานด้วยจังหวะดูด-อัด-ระเบิด-คาย หมุนเวียนกันอยู่เช่นนี้
























Include useful information. About Automotive Technology | Engine Systems | Engine Products | General Information on Automotive Technology donate a car | donate a car for tax deduction | donate a car in california | donate a car san diego | donate a car tax deduction | donate a car to charity | donate a car to veterans charity | donate a car today | donate a vehicle | donate car | donate car az | donate car california | donate car for charity | donate car for taxes | donate car in maryland | donate car los angeles | donate car sacramento | donate car san francisco
Share this video :
donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved