รวมข่าวสาร ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ | ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ | การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้านยนต์กรรม | รวมข้อมูลทั่วไปของเทคโนโลยีต่างๆด้านยานยนต์
car donation in new york | car donation los angeles | car donation oakland | car donation programs | car donation sacramento | car donation san francisco | car donation san jose | car donation tax | car donation tax value | car donation tax write off | car donation to charity | cars for donation | charities that accept car donations |
การทำงานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะจะมีลักษณะคล้ายกับเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คือจะต้องมีจังหวะดูด อัด ระเบิด คาย เช่นเดียวกันจะมีข้อแตกต่างกันอยู่บ้างตรงที่เครื่องยนต์ 2 จังหวะจะทำงานครบตามจังหวะดังกล่าวได้ก็โดยที่ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นแล้วลง 2 ครั้ง หรือเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบเท่านั้นก็จะได้งาน 1 ครั้ง
เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 2 จังหวะ มีหลักการทำงานในจังหวะต่างๆดังนี้คือ
1. จังหวะคายและจังหวะดูด (Exhaust and Intake Stroke)
เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 2 จังหวะเมื่อแรงระเบิดซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ของส่วนผสมระหว่างอากาศกับน้ำมันเชื้อเพลิงภายในห้องเผาไหม้จะผลักดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ลงจนถึงจุดหนึ่ง ขอบบนของลูกสูบจะเปิดช่องไอเสียแก็สไอเสียก็จะพุ่งตัวออกไปทางช่องไอเสียของกระบอกลูกสูบ และเมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงมาเล็กน้อยขอบบนอีกด้านหนึ่งของลูกสูบจะเปิดช่องไอดี (Transfer Port) ซึ่งไอดีที่มีกำลังดันสูงจากห้องแคร้งจะถูกส่งผ่านช่องส่งไอดีเข้าไปบรรจุอยู่ภายในกระบอกสูบพร้อมทั้งขับไล่ไอเสีย ขณะนี้เครื่องยนต์จะอยู่ที่จังหวะคายและจังหวะดูด
การที่ไอดีในห้องแคร้งมีกำลังดันสูง ก็เนื่องมาจากในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงมาจนกระทั่งขอบล่างของลูกสูบปิดช่องไอดี (Inlet Port) ทำให้ไอดีที่อยู่ภายในห้องนี้ถูกอัดตัวให้มีกำลังดันสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เครื่องยนต์
2 จังหวะชนิดนี้ลิ้นรีดวาล์วแบบแผ่นในการจัดส่งไอดีเข้าสู่ห้องแคร้งเป็นลิ้นในการจัดส่งไอดีเข้าสู่ห้องแคร้งเป็นลิ้นชนิดกันกลับแรงดันที่เกิดจากการเคลื่อนตัวลงของลูกสูบจะดันให้ลิ้นปิดได้เองโดยอัตโนมัติทำให้ไอดีที่อยู่ในห้องแคร้งที่มีกำลังดันสูงขึ้น และป้องกันไม่ให้ไอดีรั่วไหลออกจากห้องแคร้งอีกด้วย
2. จังหวะอัดและจังหวะระเบิด (Compress and Power Stroke)
จังหวะนี้จะเกิดต่อเนื่องมาจากจังหวะดูด เริ่มตั้งแต่เมื่อขอบบนของลูกสูบซึ่งเคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่างขึ้นสู่ศูนย์ตายบนจะปิดช่องส่งไอดีและช่องไอเสียตามลำดับ (ช่องส่งไอดีโดยปกติจะอยู่ในตำแหน่งต่ำกว่าช่องไอเสียเล็กน้อยเพื่อผลในการบรรจุไอดีเข้าสู่กระบอกสูบ และขับไล่ไอเสียออกจากกระบอกสูบ) ลูกสูบจะทำการอัดไอดีขึ้นไปเรื่อยๆ ในช่วงนี้เครื่องยนต์จะอยู่ในจังหวะอัด เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นก่อนจะถึงศูนย์ตายบนเล็กน้อยหัวเทียนจะจุดประกายไฟ ทำให้ส่วนไอดีหรือส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศเกิดการเผาไหม้ ช่วงนี้เครื่องยนต์จะอยู่ในจังหวะระเบิด แรงระเบิดที่เกิดจากการเผาไหม้จะทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ลง และหมุนเวียนกันอยู่เช่นนี้ตลอดเวลาที่เครื่องยนต์ทำงาน จะเห็นได้ว่าในการทำงาน 1 ครั้ง ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้น-ลง 2 ครั้ง คือ ขึ้น 1 ครั้ง ลง 1 ครั้ง หรือเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 1รอบ จึงเรียกเครื่องยนต์ชนิดนี้ว่า เครื่องยนต์ 2 จังหวะ
Include useful information. About Automotive Technology | Engine Systems | Engine Products | General Information on Automotive Technology
donate a car | donate a car for tax deduction | donate a car in california | donate a car san diego | donate a car tax deduction | donate a car to charity | donate a car to veterans charity | donate a car today | donate a vehicle | donate car | donate car az | donate car california | donate car for charity | donate car for taxes | donate car in maryland | donate car los angeles | donate car sacramento | donate car san francisco