แปลงถ่าน หรือกลไกการขับอื่นๆ สามารถตรวจได้โดยง่ายด้วยการตรวจพินิจหรือการทดสอบง่ายๆ ยกเว้นข้อขัดข้องที่เกี่ยวกับขดลวดซึ่งมีความจำเป็นต้องใช้การทดสอบอย่างละเอียดมากขึ้น เช่น การทดสอบการขาดของขดลวดอาร์เมเจอร์ การทดสอบการลัดวงจรของขดลวด การทดสอบการรั่ว ลงดินของขดลวดอาร์เมเจอร์ และการทดสอบชุดลวดฟิวส์ เป็นต้น
Home »
เครื่องยนต์
,
ซ่อม
,
ไดสตาร์ท
,
แบตเตอรี่
,
ไฟฟ้ารถยนต์
,
อะไหล่เครื่องยนต์
» ความรู้เกี่ยวกับมอเตอร์สตาร์ทของรถยนต์
ความรู้เกี่ยวกับมอเตอร์สตาร์ทของรถยนต์
Posted by Contemporary industry
Posted on 18:55
รวมข่าวสาร ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ | ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ | การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้านยนต์กรรม | รวมข้อมูลทั่วไปของเทคโนโลยีต่างๆด้านยานยนต์
car donation in new york | car donation los angeles | car donation oakland | car donation programs | car donation sacramento | car donation san francisco | car donation san jose | car donation tax | car donation tax value | car donation tax write off | car donation to charity | cars for donation | charities that accept car donations |
มอเตอร์สตาร์ทของรถยนต์ใช้กระแสไฟตรง (D.C.) ที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ำ เป็นตัวเปลี่ยนแปลง พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแบตเตอรี่ กลายเป็นพลังงานกลซึ่งสามารถฉุดเครื่องยนต์ให้สามารถทำงานได้
มอเตอร์สตาร์ทที่นำมาใช้ในรถยนต์มีคุณลักษณะที่สำคัญโดยรวมดังนี้
1. มีแรงบิดมากพอที่จะขับให้เครื่องยนต์หมุนได้
2. ความเร็วรอบและกำลังของมอเตอร์ที่ใช้ต้องมีความสัมพันธ์กับประเภทและขนาด ของเครื่องยนต์ และความจุของแบตเตอรี่
3. มีความสามารถในการเข้าขบกับล้อช่วยแรง (Flywheel) ได้เป็นอย่างดี
4. มีขนาดกะทัดรัดและน้ำหนักเบา สะดวกและง่ายต่อการติดตั้ง
โครงสร้างมอเตอร์สตาร์ท (Construction of Starter)
มอเตอร์ ประกอบด้วยทุ่นอาร์เมเจอร์ มีขดลวดพันอยู่รอบๆ ในร่องของแกนเหล็กอ่อนแผ่นบางที่วางซ้อนกัน ปลายของขดลวดเชื่อมต่อกับคอมมิวเตเตอร์ และต่อแบบอนุกรมเข้ากับวงจรของอาร์เมเจอร์
สวิตช์แม่เหล็กของโซลินอยด์ เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ตัด และต่อกระแสไฟที่ป้อนให้แก่มอเตอร์ พร้อมทั้งเป็นตัวเลื่อนชุดของคลัทช์และเฟืองขับ เพื่อให้เฟืองขับสามารถขบกับเฟืองของล้อช่วยแรง
แผ่นสะพานไฟ ทำหน้าที่ตัดหรือต่อกระแสไฟที่ป้อนให้แก่มอเตอร์ โดยเคลื่อนที่ไปพร้อมกับแกนของแกนพลันเยอร์
พลันเยอร์ เป็นแกนเหล็กอ่อนที่เชื่อมต่อระหว่างโซลินอยด์กับมอเตอร์ ทำหน้าที่เคลื่อนที่ไปมาเมื่อเกิดอำนาจแม่เหล็กขึ้นรอบๆ จึงสามารถตัดหรือต่อขั้วหลักของวงจร กับขั้วที่ต่อเข้ากับมอเตอร์ได้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นตัวเลื่อนชุดคลัทช์และเฟืองขับ มอเตอร์ไปในตัวอีกด้วย
ขดลวดชุดยึด ทำหน้าที่สร้างอำนาจแม่เหล็กขึ้นสำหรับยึดพลันเยอร์ ไม่ให้เคลื่อนที่กลับขณะที่ต่อเข้ากับชุดของสะพานไฟ
สปริงดันกลับ ทำหน้าที่ดันพลันเยอร์กลับตำแหน่งเดิม
คลัทช์มอเตอร์ (Starter Clutch) ทำหน้าที่ต่อหรือตัดกำลังจากมอเตอร์ไปยังล้อช่วย แรงของเครื่องยนต์
การทำงานของคลัทช์มอเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่
ถ่ายทอดแรงบิด เมื่อเฟืองขับเลื่อนเข้าไปขบกับเฟืองของล้อช่วยแรงและอาร์เมเจอร์ แล้วจะทำให้ทั้งสองส่วนเริ่มหมุน จะเกิดเป็นความฝืดขึ้น เนื่องจากแรงเสียดทานระหว่างปลอกถังในกับลูกปืน ทำให้ลูกปืนถูกดันให้เข้าไปอยู่ในส่วนที่แคบ เป็นเหตุให้ทั้งปลอกนอกและในถูกขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน ป้องกันแรงบิด หลังจากเครื่องยนต์ทำงาน เฟืองขับจะถูกขับโดยเฟืองของล้อช่วยแรง ซึ่งมีความเร็วมากกว่าความเร็วของอาร์เมเจอร์ จึงทำให้ปลอกนอกหยุดอยู่กับที่ จะเหลือเพียงเฟืองปลอกในเท่านั้นที่เคลื่อนที่ ในขณะเดียวกันลูกปืนจะเคลื่อนที่ออกมาสู่ส่วนที่กว้างขึ้น ทำให้ลูกปืนเป็นอิสระและหยุดถ่ายทอดแรงบิด
อาร์เมเจอร์ ประกอบด้วยแกนเหล็กซึ่งมีเพลาสวมอยู่ ระหว่างแกนเหล็กเจาะ เป็นร่องสำหรับบรรจุขดลวดอาร์เมเจอร์อยู่รอบแกน ปลายขดลวดต่อเข้ากับตัวคอมมิวเตเตอร์ อาร์เมเจอร์จะหมุนอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็กซึ่งติดตั้งที่ด้านทั้งสอง เพื่อเป็นการลดความสูญเสียของเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้น
ขดลวดอาร์เมเจอร์ทำด้วยทองแดงหนาๆ เพื่อต้องการให้รับกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด ขดลวดอาร์เมเจอร์แต่ละขดประกอบด้วยลวดเพียงรอบเดียว โดยการพันเส้นลวดต้องให้แนบสนิทกับร่องของแกนเหล็ก เพื่อทำให้กระแสจากขดลวดสนามแม่เหล็ก สามารถไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์ได้ทุกคอยล์ในเวลาเดียวกัน จึงเกิดเป็นสนามแม่เหล็กรอบขดลวดนี้ขึ้น พร้อมทั้งทำให้เกิดแรงผลักดันโดยรอบอาร์เมเจอร์ขึ้นด้วย
การทำงานของมอเตอร์สตาร์ท
เริ่มต้นจากเฟืองขับของมอเตอร์สตาร์ท จะส่งกำลังเข้าไปขับเฟืองล้อช่วยแรงของเครื่องยนต์ ซึ่งทำหน้าที่ในการต่อหรือตัดวงจรออกจากเฟืองล้อช่วยแรงได้โดยอัตโนมัติ จำนวนฟันเฟืองขับของมอเตอร์สตาร์ทมักจะน้อยกว่าจำนวนฟันเฟืองล้อช่วยแรง จึงทำให้มีกำลังสูงขึ้นในขณะขับเครื่องยนต์ อัตราการทดของเฟืองทั้งสองประมาณ 12: 1
ในขณะเครื่องยนต์ทำงานแล้ว ถ้าเฟืองขับยังคงขบอยู่กับเฟืองล้อช่วยแรง จะทำให้เพลาของอาร์เมเจอร์หมุนด้วยแรงเหวี่ยงอย่างแรง จะทำให้เกิดความเสียหายได้ จึงต้องมีกลไกมาช่วยในการตัดวงจรการส่งกำลังออกจากกัน
เริ่มต้นจากเฟืองขับของมอเตอร์สตาร์ท จะส่งกำลังเข้าไปขับเฟืองล้อช่วยแรงของเครื่องยนต์ ซึ่งทำหน้าที่ในการต่อหรือตัดวงจรออกจากเฟืองล้อช่วยแรงได้โดยอัตโนมัติ จำนวนฟันเฟืองขับของมอเตอร์สตาร์ทมักจะน้อยกว่าจำนวนฟันเฟืองล้อช่วยแรง จึงทำให้มีกำลังสูงขึ้นในขณะขับเครื่องยนต์ อัตราการทดของเฟืองทั้งสองประมาณ 12: 1
ในขณะเครื่องยนต์ทำงานแล้ว ถ้าเฟืองขับยังคงขบอยู่กับเฟืองล้อช่วยแรง จะทำให้เพลาของอาร์เมเจอร์หมุนด้วยแรงเหวี่ยงอย่างแรง จะทำให้เกิดความเสียหายได้ จึงต้องมีกลไกมาช่วยในการตัดวงจรการส่งกำลังออกจากกัน
คลัทช์โอเวอร์รันนิ่ง ใช้คันโยกในการเลื่อนเฟืองขับของมอเตอร์สตาร์ทเข้าขบกับเฟืองล้อช่วยแรง อาศัยการควบคุมการทำงานโดยชุดของสวิตช์โซลินอยด์ โดย ตำแหน่งของคลัทช์โอเวอร์รันนิ่งติดอยู่ด้านหลังของเฟืองขับ ทำหน้าที่ส่งกำลังขับเคลื่อนจากแกน ของอาร์เมเจอร์เข้าขบกับเฟืองของล้อช่วยแรงได้ในทิศทางเดียว และจะหมุนเป็นอิสระในทิศทาง ตรงกันข้าม ลักษณะของคลัทช์โอเวอร์รันนิ่งเป็นแบบปลอกสวมติดอยู่กับแกนของอาร์เมเจอร์ โดยปลอกและเฟืองขับจะสวมกันแบบแนบสนิทกับปลอกของมัน
คลัทช์เบนดิกซ์ (Bendix Clutch) ทำงานโดยอาศัยเฟืองแบบเกลียว และใช้แรงเฉื่อยเพื่อเข้ากับเฟืองของล้อช่วยแรง ซึ่งมีเฟืองสวมอยู่กับสกรู เมื่อมอเตอร์สตาร์ทเริ่มหมุนมันก็จะเหวี่ยง ตัวเองโดยการเคลื่อนที่ไปตามสกรู เข้าขับกับเฟืองของล้อช่วยแรงหมุนเครื่องยนต์ เมื่อเครื่องยนต์ ทำงานเองได้แล้วจะหมุนเร็วกว่าเฟืองขับของมอเตอร์ ทำให้เฟืองมอเตอร์สตาร์ทเลื่อนออกจาก เฟืองของล้อช่วยแรงได้
นอกจากนี้แล้วยังมีกลไกขับด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อสำหรับต่อและตัดการขับของเฟือง โดยอาศัยคลัทช์ประเภทอื่น ๆ เป็นตัวช่วย ได้แก่ ไดเออร์คลัทช์(Dyer Clutch) สแปรกคลัทช์(Sprag Clutch) เป็นต้น
การทดสอบวงจรสตาร์ท (Starting Circuit Testing)
การทดสอบและวิเคราะห์วงจรต้องปฏิบัติกับวงจรที่สมบูรณ์ก่อนการถอดส่วนประกอบหรือ ชิ้นส่วนใดๆ ซึ่งถือว่าเป็นการทดสอบสมรรถนะของมอเตอร์สตาร์ท โดยมักทำการทดสอบใน ขณะที่ไม่มีภาระงานของมอเตอร์สตาร์ท หรือเรียกว่า การทดสอบตัวเปล่า
เมื่อทดสอบสมรรถนะของมอเตอร์สตาร์ทแล้ว ผลปรากฏว่าการทำงานไม่เป็นผล ตามค่าที่กำหนดก็จำเป็นที่ต้องได้รับการบริการ รวมไปถึงการถอดประกอบชิ้นส่วนออกมาตรวจสภาพและทดสอบ หลังจากนั้นจึงประกอบชิ้นส่วนกลับคืน แล้วทดสอบการทำงานให้เป็นไปตามค่าที่กำหนด
โดยทั่วๆ ไปแล้วการทดสอบสภาพทางกล เช่น การทดสอบเพลาอาร์เมเจอร์
แปลงถ่าน หรือกลไกการขับอื่นๆ สามารถตรวจได้โดยง่ายด้วยการตรวจพินิจหรือการทดสอบง่ายๆ ยกเว้นข้อขัดข้องที่เกี่ยวกับขดลวดซึ่งมีความจำเป็นต้องใช้การทดสอบอย่างละเอียดมากขึ้น เช่น การทดสอบการขาดของขดลวดอาร์เมเจอร์ การทดสอบการลัดวงจรของขดลวด การทดสอบการรั่ว ลงดินของขดลวดอาร์เมเจอร์ และการทดสอบชุดลวดฟิวส์ เป็นต้น
แปลงถ่าน หรือกลไกการขับอื่นๆ สามารถตรวจได้โดยง่ายด้วยการตรวจพินิจหรือการทดสอบง่ายๆ ยกเว้นข้อขัดข้องที่เกี่ยวกับขดลวดซึ่งมีความจำเป็นต้องใช้การทดสอบอย่างละเอียดมากขึ้น เช่น การทดสอบการขาดของขดลวดอาร์เมเจอร์ การทดสอบการลัดวงจรของขดลวด การทดสอบการรั่ว ลงดินของขดลวดอาร์เมเจอร์ และการทดสอบชุดลวดฟิวส์ เป็นต้น
หลังจากการทดสอบชิ้นส่วนต่างๆ พร้อมทั้งประกอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ควรจะต้องมี การตรวจสอบการประกอบขั้นสุดท้าย คือ
1. การตรวจสอบการทำงานตัวเปล่าของมอเตอร์สตาร์ท เพื่อเป็นการทดสอบสมรรถนะ ของมอเตอร์อีกครั้งก่อนใช้งานจริง
2. การตรวจสอบระยะห่างของเฟืองขับกับแหวนกันเฟืองกระแทก โดยระยะห่างที่ เหมาะสมประมาณ 0.1-0.6 มิลลิเมตร
3. การตรวจสอบสวิตช์ควบคุมวงจร ซึ่งสามารถกระทำได้โดยการทดสอบ โดยใช้มือตรวจสอบ โดยใช้โซลินอยด์ และการตรวจสอบโดยใช้แม่เหล็ก เป็นต้น
การบำรุงรักษามอเตอร์สตาร์ท
1. ตรวจแปลงถ่าน ตรวจดูสภาพของแปลงถ่านและ คอมมิวเตเตอร์ ถ้าเกิดสกปรก มีฝุ่นหรือคราบน้ำมันจับอยู่ ควรล้างออกด้วยน้ำมันเบนซิน หรือใช้ผ้าที่สะอาดเช็ดออก
2. การสตาร์ทเครื่องยนต์แต่ละครั้งไม่ควรเกิน 30 วินาที และควรทิ้งไว้สักครู่เพื่อให้เย็นลง จากนั้นจึงเริ่มสตาร์ทเครื่องยนต์ใหม่
3. ยึดมอเตอร์สตาร์ทให้แน่นอยู่เสมอ รวมทั้งรักษากลไกการขับเคลื่อนให้อยู่ในสภาพที่ดีเสมอ
4. ควรให้การหล่อลื่นลูกปืน โดยใช้น้ำมันชนิดใสหยอดประมาณ 2-3 หยด
5. ไม่ควรใช้น้ำมันชะโลมล้าง หรือแช่ขดลวดอาร์เมเจอร์ และขดลวดแม่เหล็ก เพราะ น้ำมันอาจจะแทรกเข้าไปทำให้ฉนวนต่างๆ เสียหายได้
6. ขณะทำงานบริการ (บำรุงรักษา) มอเตอร์สตาร์ท ควรถอดสายไฟขั้วสายดินของ แบตเตอรี่ออกก่อน และไม่ควรวางเครื่องมืออื่นๆ ไว้บนแบตเตอรี่
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
ซ่อม,
ไดสตาร์ท,
แบตเตอรี่,
ไฟฟ้ารถยนต์,
อะไหล่เครื่องยนต์
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)