Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |

ข้อดีและช้อเสียของเทอร์โบแปรผัน




ข้อดีของเทอร์โบแปรผัน

1. ลดอาการ Turbo lag หรืออาการรอรอบ ทำให้เครื่องยนต์มีแรงบิด และแรงม้าดีขึ้นตั่งแต่รอบต่ำ
2. ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงมากขึ้น จากการสร้างแรงบิดได้ตั่งแต่รอบต่ำ เครื่องยนต์จึงอาศัยอัตราเร่งน้อยกว่า
3.ลดมลพิษ ไม่มีไอเสียที่เหลือปล่อยทิ้งทางเวสเกต ทำให้ฝุ่นละอองไนโตรเจนลดลง

ข้อเสียของเทอร์โบแปรผัน

1. ราคาสูงกว่าเทอร์โบธรรมดาทั่วๆไปเพราะใช้อุปกรณ์มากกว่า
2. การดูแลรักษายาก คราบเขม่าไอเสียอาจจับตัวกับอุปกรณ์ภายใน จนเกิดการติดขัด เสียหายได้
3. ยากในการปรับแต่ง เช่นในการเพิ่มบูชแรงดันอากาศ การติดตั้งเวสเกตแยก จึงไม่เหมาะกับรถที่ใช้ในการแข่งขันหลายร้อยแรงม้า

การทำงานของเทอร์โบแปรผัน

       
เทอร์โบ มีหน้าที่อัดอากาศเข้าสู่ห้องเผาไหม้ โดยอาศัยการหมุนของกังหันเทอร์ไบน์ ด้านไอดีที่หมุนตามเทอร์ไบน์ ด้านไอเสียด้วยความเร็วสูง จนเกิดแรงดันอากาศหรือแรงบูชขึ้นมา ดั้งนั้นการจะทำให้เกิดแรงดันอย่างรวดเร็ว ก็คือการทำให้ใบพัดด้านไอเสียหมุนให้ได้อย่างรวดเร็วที่สุด ขึ้นอยู่กับค่า A/R ของเทอร์โบหรือขนาดของโข่งหลัง โข่งหลังของเทอร์โบที่มีขนาดเล็ก ย่อมทำให้ใบพัดหมุนได้เร็วกว่าทำให้บูชมาได้เร็วกว่า แต่พอรอบปลายก็จะเกิดอาการอั้นของไอเสีย จนทำให้แรงเครื่องยนต์ตก และโข่งหลังที่มีขนาดใหญ่หรือ A/R สูง ย่อมทำให้กังหันเทอร์ไบน์หมุนได้ช้ากว่า แต่พอรอบสูงๆจะหมุนได้เร็วและไม่อั้นไอเสียทำให้เครื่องยนต์มีแรงม้าเพิ่มขึ้นในรอบปลาย ดั้งนั้นเทอร์โบแปรผันออกแบบมาเพื่อแก้ปัญหานี้คือ ในเทอร์โบแปรผันจะมีครีบ Vane ทำหน้าที่กั้นอากาศไอเสียให้ไหลลงมายังกังหันเทอร์ไบน์ได้เร็วขึ้นในรอบต้น แต่พอรอบสูงขึ้นครีบก็จะกางออกเพื่อรองรับไอเสียที่ที่ออกมามากขึ้น การเปิดครีบออกของ Vane จะได้รับการควบคุมมาจาก แอกชัวเอเตอร์ ที่มีลักษณะเหมือนกระป๋องเวสเกตธรรมดา หรือมอเตอร์ไฟฟ้าที่ควบคุมการหมุนโดย ECU ต่อแกนมาดันชุด Roller ให้หมุนเพื่อไปขยับครีบให้กางออก และหุบเข้าได้ พอรอบต่ำครีบก็จะหุบตัวลงไอเสียก็จะมีความเร็วทำให้ใบพัดเทอร์ไบน์หมุนได้เร็วขึ้น จนสามารถสร้างแรงดันอากาศได้อย่างรวดเร็วไม่รอรอบ ในเวลารอบสูงครีบก็จะกางออกลดอาการต้านของแรงดันไอเสีย ทำให้ไอเสียไหลลงสู่ใบพัดเทอร์ไบน์ได้อย่างคล่องตัว แรงม้าของเครื่องยนต์ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และด้วยการควบคุมการเปิดของ Vane จะเป็นตัวบังคับให้ความเร็วในการหมุนของใบพัดเทอร์ไบน์หมุนได้ที่ความเร็วจำกัด แม้ปริมาณไอเสียจะมากเพียงใด จึงทำให้เทอร์โบแปรผัน ไม่ต้องใช้เวสเกตในการควบคุมแรงดันไอเสียแต่อย่างใด

ส่วนประกอบของเทอร์โบแปรผัน หรือครีบปรับแรงดันไอเสีย




เทอร์โบแปรผัน ก็ไม่แตกต่างจากเทอร์โบธรรมดาทั่วไป ในโข่งหน้าไอดีมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ จะต่างกันที่ในด้านโข่งไอเสีย ภายในจะมีครีบปรับแรงดันไอเสีย ประกอบด้วย

1. Nozzle Vane เป็นลักษณะคล้ายครีบบางๆ คล้ายบานเกล็ดหน้าต่าง วางเรียงตัวกันรอบๆ โข่งไอเสีย ครีบแต่ละตัวจะมีหมุดต่อมายัง ชุดโรลเลอร์และจานหมุนเพื่อให้สามารถกางออก และหุบตัวได้

2. Pin เป็นหมุดเล็กๆ ครีบจะสามารถขยับกางออก ต้องอาศัยหมุดนี้เป็นตัวประครองชุดหมุนหรือ โรเลอร์



3. Roller หรือจานหมุน จะสามารถขยับตัวหมุนรอบๆโข่งไอเสีย โดยจะมีแกนต่อมาจากตัวดันเช่น มอเตอร์ไฟฟ้า หรือแอกชัวเอเตอร์ มาดันให้ชุดโรเลอร์ ขยับหมุนเพื่อไปดันให้ครีบกางออก หรือหุบเข้า

ประวัติและความเป็นมาของเทอร์โบแปรผัน


เทอร์โบแปรผัน มีชื่อเรียกกันต่างๆไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับบริษัทที่ผลิต เช่นถ้าเป็นของ Holset จะเรียกว่า VGT (Variable Geometry Turbo) แต่ถ้าเป็นของ Garrett ก็จะเรียก VNT (Variable Nozzle Turbine) และถ้าเป็นของ Borg Warner เรียกว่า VTG (Variable Turbine Geometry) เทอร์โบแบบนี้มีมานานมากแล้วในต่างประเทศ ในราวปี 1989 โดยบริษัท Shelby แต่เทอร์โบแบบนี้ในสมัยแรกๆยังไม่ค่อยเป็นที่นิยมมากเท่าไรนัก เพราะด้วยกลไกลที่สลับซับซ้อน กว่าเทอร์โบแบบทั่วๆไป การหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องทนต่อความร้อนกว่า 1,000 องศา การกัดกร่อน สนิม และคราบเขม่าจากไอเสียทำให้เทอร์โบแบบนี้ มีปัญหาด้านอายุการใช้งานเป็นอย่างมาก แต่ด้วยความสามารถที่ดีกว่า ของเทอร์โบแบบนี้ ทำให้หลายๆ บริษัทที่ผลิตเทอร์โบต่างคิดค้น และพัฒนาจนเทคโนโลยีในปัจุจุบัน สามารถทำให้เทอร์โบแปรผันมีความคงทนขึ้นมาก จนเป็นที่นิยมในรถยนต์ต่างประเทศเกือบทุกยี่ห้อ ทั้งเครื่องยนต์เบนซิล และดีเซล จนถึงเครื่องยนต์กว่า 1,000 แรงม้าก็เริ่มมีใช้กันบ้างแล้ว เทอร์โบแบบนี้ถ้าเป็นช่างเทอร์โบบ้านเรา ต่างเห็นกันมาเป็นสิบปีแล้ว ส่วนมากตามอะไหล่เก่าเชียงกง หรือติดเครื่องรถยุโรป และส่วนมากจะเรียกกันว่า เทอร์โบบานเกล็ด สังเกตกันง่ายๆว่าโข่งไอเสียจะใหญ่กว่า เทอร์โบธรรมดามาก ภายในโข่งไอเสียจะมีครีบบางๆ คล้ายบานเกล็ดหน้าต่าง ต่อกับชุดกลไกลการเปิด – ปิด ด้วยกระป๋องคล้ายเวสเกตบ้างหรือ มอเตอร์ไฟฟ้าบ้าง ถ้าเป็นรุ่นมอเตอร์มักจะทิ้ง หรือเปลี่ยนโข่งหลังใหม่ แต่ถ้าเป็นกระป๋องลมดัน ก็ใช้ได้เลยต้องยอมรับว่า อัตตราเร่งดีกว่าเทอร์โบธรรมดาอยู่พอควร

เทอร์โบแปรผัน คือ อะไร ? มีไว้ทำอะไร | ชิ้นส่วนและอุปกรณ์สำหรับเครื่องยนต์


อุปกรณ์เพิ่มแรงดันอัดอากาศเข้าสู่เครื่องยนต์ โดยปกติเครื่องยนต์มีการดูดอัดอากาศเข้าสู่เครื่องยนต์ได้เพียง 70-80% ด้วยมีสิ่งกีดขวางทางเดินทางอากาศหลายอย่างทั้ง ลิ้นปีกผีเสื้อ ชุดวาล์ว ความโค้งงอของท่อร่วมไอดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ทำให้เครื่องยนต์มีการทำงานไม่สมบูรณ์ มีควันดำ สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง และทำให้กำลังแรงม้า แรงบิดของเครื่องยนต์ลดลง ผลจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์

เทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ | เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่


เรื่องเทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ
1. คุณลักษณะเทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ (Electronically - Modulated Air Suspension = EMAS)
4แผนภูมิส่วนประกอบระบบรองรับด้วยอากาศ
4หน้าที่แต่ละส่วนประกอบหลัก
2. การทำงานของส่วนประกอบการสลายแรงสั่นสะเทือนและความแข็ง (Mode Change)
4สวิตช์ควบคุมตำแหน่งขับขี่
4เซ็นเซอร์บังคับเลี้ยว
4สวิตช์ไฟเบรก
4เซ็นเซอร์ตำแหน่งลิ้นเร่ง
4เซ็นเซอร์ความเร็วรถตัวที่ 1
3. แอ็คชิวเอเตอร์ควบคุมระบบรองรับ (Actuator)
4คุณลักษณะแอ็คชิวเอเตอร์
4การทำงานแอ็คชิวเอเตอร์
4. กระบอกลมระบบรองรับด้วยอากาศ
4โช๊คอัพ
~ โครงสร้างและการทำงานของโช๊คอัพ
~ การทำงานของโช๊คอัพ
4ส่วนประกอบและการทำงานห้องอากาศและลิ้นอากาศกระบอกลม
4ไฟแสดงตำแหน่งขับขี่
5. การทำงานของส่วนประกอบควบคุมความสูงของรถ
4วงจรควบคุมความสูงรถ
4ผังวงจรไฟฟ้าควบคุมการทำงานระบบรองรับอากาศ
4สวิตช์ควบคุมความสูงรถ
4เซ็นเซอร์ควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์เปิด/ปิดควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์ไฟประตูรถ
4สัญญาณไอซีเร็กกูเลเตอร์
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 2
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 1
4ปั๊มลมควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นระบายและตัวดูดความชื้นควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นควบคุมความสูงรถตัวที่ 1 และตัวที่ 2
6. การควบคุมการสลายแรงสั่นสะเทือนระบบรองรับด้วยอากาศ
4ระบบควบคุม
4ตำแหน่งของระบบรองรับ (Suspension Modes)
4การควบคุมอาการหน้าเชิด
4การควบคุมอาการโคลง
4การควบคุมอาการหน้าทิ่ม
4การควบคุมความเร็วสูง (เฉพาะตำแหน่ง NORM)
4การควบคุมขณะถนนขรุขระ การกระดอนและการเต้นกระโดดของรถ

การควบคุมมลพิษจากไอเสียรถยนต์


รัฐบาลได้มีการออกกฏหมายควบคุมไอเสียรถยนต์ โดยแบ่งออกเป็นรถยนต์ใหม่และรถยนต์เก่า สำหรับรถยนต์ใหม่ทางสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นผู้ออกมาตรฐานมาควบคุมมลพิษจากไอเสียรถยนต์โดยใช้มาตรฐานของยุโรป ซึ่งถือว่าเหมาะสมกับประเทศไทย เพราะมีปัญหาฝุ่นละอองคล้ายกัน และมีแบบทดสอบใกล้เคียงกับการจราจรในประเทศมากที่สุดเมื่อเทียบกับมาตรฐานในประเทศอื่น

เรื่องเทคโนโลยีควบคุมมลพิษไอเสีย
1. มาตรฐานไอเสียรถยนต์ในประเทศไทย
4คุณลักษณะมลพิษในอากาศ
4การควบคุมสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์
4การแก้ปัญหามลพิษจากไอเสียรถยนต์
2. หลักการควบคุมมลพิษจากรถยนต์ (Emission Control for Automobiles)
4แหล่งกำเนิดมลพิษจากรถยนต์เครื่องยนต์เบนซิน
4แหล่งกำเนิดมลพิษจากรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซล
4การควบคุมไอน้ำมันเครื่องห้องเพลาข้อเหวี่ยง (Crankcase Ventilation)
4ระบบหมุนเวียนไอเสียเผาไหม้ซ้ำ และระบบควบคุมไอระเหยน้ำมันเบนซิน
4ระบบควบคุมไอระเหยน้ำมันเบนซิน (Evaporative Emission Control System)
3. ระบบท่อไอเสียรถยนต์ (Exhaust System)
4การลดเสียงดังจากการคายไอเสียเครื่องยนต์
4ส่วนประกอบระบบท่อไอเสียรถยนต์
4ตำแหน่งหม้อพักไอเสียและการกัดกร่อนท่อไอเสีย
~ ตำแหน่งหม้อพักไอเสียระบบใช้หม้อพักไอเสียลูกเดี่ยว
~ การกัดกร่อนท่อไอเสีย
~ การผุกร่อนของระบบท่อไอเสีย
4. ตัวฟอกไอเสียเครื่องยนต์เบนซินเพื่อลดมลพิษ
4ตัวฟอกไอเสียแบบออกซิเดชั่นหรือแบบทางเดียว (Oxidation Catalytic Converter
หรือ One-Bed Oxidation Catalytic Converter)
4ตัวฟอกไอเสียแบบ 2 ทาง (Double-Bed Catalytic Converter)
4ตัวฟอกไอเสียแบบ 3 ทาง (3 - Way Catalytic Converter)
4ระบบบรรจุสารแปรสภาพไอเสีย
4เงื่อนไขการใช้งานตัวฟอกไอเสีย

5. เซ็นเซอร์ออกซิเจน (Oxygen Sensor หรือ Lambda Sensor)
6. การตรวจเซ็นเซอร์ออกซิเจนและวิเคราะห์ส่วนประกอบแก๊สไอเสีย
4การตรวจสภาพเซ็นเซอร์ออกซิเจน
4งานตรวจ CD/HC ที่ความเร็วรอบเดินเบา
4การวิเคราะห์ค่า HC, CO และ O2
7. คุณลักษณะและการทำงานระบบขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยไฟฟ้า
4คุณลักษณะขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยไฟฟ้า (Electric Vehicle)
4รถโดยสารไฟฟ้า (Duo Bus)
4ระบบขับเคลื่อนรถยนต์ (Hybrid Drive)
~ ขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยมอเตอร์
~ ขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยมอเตอร์และเครื่องยนต์
~ ขับเคลื่อนแบบผสมใช้ล้อช่วยแรงพิเศษ
4รถนั่งขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า

เทคโนโลยีควบคุมมลพิษไอเสีย | เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่



ชื่อวิชา เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่

ชื่อหน่วยการเรียน เทคโนโลยีควบคุมมลพิษไอเสีย

สาระการเรียนรู้
1. มาตรฐานไอเสียรถยนต์ในประเทศไทย
2. หลักการควบคุมมลพิษจากรถยนต์
3. ระบบท่อไอเสียรถยนต์
4. ตัวฟอกไอเสียเครื่องยนต์เบนซินเพื่อลดมลพิษ
5. เซ็นเซอร์ออกซิเจน
6. การตรวจเซ็นเซอร์ออกซิเจนและวิเคราะห์ส่วนประกอบแก๊สไอเสีย
7. คุณลักษณะและการทำงานระบบขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยไฟฟ้า

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายมาตรฐานไอเสียรถยนต์ในประเทศไทยได้
2. อธิบายหลักการควบคุมมลพิษจากรถยนต์ได้
3. บอกส่วนประกอบระบบท่อไอเสียรถยนต์ได้
4. อธิบายการระงับเสียงดังของหม้อพักไอเสียรถยนต์ได้
5. บอกส่วนประกอบและการทำงานตัวฟอกไอเสียเครื่องยนต์เบนซินเพื่อลดมลพิษได้
6. บอกส่วนประกอบและการทำงานเซ็นเซอร์ออกซิเจนได้
7. ตรวจเซ็นเซอร์ออกซิเจนและวิเคราะห์ส่วนประกอบแก๊สไอเสียได้

สาระสำคัญประจำหน่วย
4. แนวคิด
มลพิษในอากาศที่คนในกรุงเทพมหานครกำลังเผชิญอยู่ถือได้ว่าเป็นปัญหาที่ร้ายแรงที่หบายฝ่ายพยายามที่
จะแก้ไขอยู่จากรายงานสภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ. 2538
ได้ชี้ให้เห็นว่าปริมาณฝุ่นละอองในอากาศ โดยเฉลี่ยมีมากกว่าค่ามาตรฐานที่คนจะสามารถรับได้ ถึง 3 เท่า โดยจะมีความ
เข้มข้นสูงในบริเวณท้องถนนมลพิษที่เป็นปัญหารองลงมาก็ คือคาร์บอนมอนนอกไซด์แต่ยังไม่เกินมาตรฐานที่ได้ตั้งไว้
ตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดมลพิษคือ รถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม และฝุ่นละอองจากการก่อสร้างในที่นี้จะ
กล่าวถึงเฉพาะมลพิษที่เกิดจากรถยนต์เท่านั้น

Toyota Yaris Ativ รุ่น J ECO Model | ราคารถมาตรฐาน | อุปกรณ์มาตรฐาน

ภาพและข้อมูล : http://www.toyota.co.th/model/yaris_ativ

ราคารถมาตรฐาน 469,000 บาท  |  คำนวณงวดรถ


อุปกรณ์มาตรฐาน

  • กระจังหน้าสีดำ
  • ไฟหน้าแบบมัลติรีเฟลกเตอร์
  • ไฟท้ายแบบ LED Light Guiding
  • พวงมาลัยพาวเวอร์ไฟฟ้า EPS ยูรีเทน ตกแต่งด้วยแถบเมทัลลิก ปรับสูง-ต่ำได้
  • ลำโพงภายในห้องโดยสาร 2 ตำแหน่ง
  • ถุงลมเสริมความปลอดภัย 7 ตำแหน่ง
  • ระบบเบรก ABS/EBD และระบบเสริมแรงเบรก BA
  • ระบบควบคุมการทรงตัว VSC และระบบป้องกันล้อหมุนฟรี TRC
  • ระบบช่วยออกตัวบนทางลาดชัน HAC
  • ระบบเซ็นทรัลล็อก

Toyota Yaris Ativ รุ่น J Model | ราคารถมาตรฐาน | อุปกรณ์มาตรฐาน


ราคารถมาตรฐาน 519,000 บาท  |  คำนวณงวดรถ

อุปกรณ์มาตรฐาน

  • กระจังหน้าสีดำ
  • ไฟหน้าแบบมัลติรีเฟลกเตอร์
  • ไฟท้ายแบบ LED Light Guiding
  • พวงมาลัยพาวเวอร์ไฟฟ้า EPS ยูรีเทน ตกแต่งด้วยแถบเมทัลลิก ปรับสูง-ต่ำได้
  • เครื่องเสียงวิทยุ AM/FM/CD/MP3/WMA พร้อมช่องต่อ USB และ AUX
  • ลำโพงภายในห้องโดยสาร 2 ตำแหน่ง
  • ถุงลมเสริมความปลอดภัย 7 ตำแหน่ง
  • ระบบเบรก ABS/EBD และระบบเสริมแรงเบรก BA
  • ระบบควบคุมการทรงตัว VSC และระบบป้องกันล้อหมุนฟรี TRC
  • ระบบช่วยออกตัวบนทางลาดชัน HAC
  • ระบบเซ็นทรัลล็อก
donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved