การทำงานของอินเตอร์คูลเลอร์
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:10
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
ระบบระบายความร้อน,
อินเตอร์คูลเลอร์,
Engine,
Intercooler
ชนิดของอินเตอร์คูเลอร์ มี กี่แบบ ?
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:07
ชนิดของอินเตอร์คูเลอร์ มี 2 แบบคือ
1. แบบถ่ายเทความร้อนด้วยน้ำ จะอาศัยน้ำหล่อเย็นจากตัวหม้อน้ำเครื่องยนต์ หรือมีหม้อน้ำแยกโดยมีปั้มน้ำทำหน้าที่ปั้มน้ำจากหม้อหล่อเย็นมาระบายความร้อนที่อินเตอร์ อินเตอร์แบบนี้เหมาะกับประเทศเมืองหนาวที่ไม่ต้องการให้อุณหภูมิการเผาไหม้เย็นเท่าไหร่ และในรถแข่งขันระยะสั้นที่ใช้วิธีเอาน้ำเย็นหรือน้ำแข็งเติมลงไปในอินเตอร์คูเลอร์เลย2. แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ คืออาศัยอากาศที่ผ่านมาปะทะตัวอินเตอร์เพื่อระบายความร้อน เหมาะกับเมืองร้อนที่ต้องการอุณหภูมิต่ำ
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
ระบบระบายความร้อน,
อินเตอร์คูลเลอร์,
Engine,
Intercooler
อินเตอร์คูลเลอร์ (Intercooler) คือ อะไร ? | หน้าที่และการทำงาน
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:03
อินเตอร์คูลเลอร์( INTER COOLER ) หรือ อัฟเตอร์คูลเลอร์ ( AFTER COOLER ) หรือ HEAT EXCHANGER แปลว่า ตัวแลกเปลี่ยนความร้อน หน้าที่คือ ระบายความร้อนของไอดีที่ถูกอัดมาจาก เทอร์โบชารจ์เจอร์ซึ่งมีความร้อนสูงให้เย็นตัวลง อากาศที่มีความร้อนสูงตามหลักฟิสิกส์ จะมีมวลอากาศน้อยความหนาแน่นต่ำ อากาศเย็นมวลอากาศมากความหนาแน่นสูงกว่า สังเกตจากเวลาอากาศเย็น รถจะวิ่งดีขึ้น อินเตอร์คูลเลอร์จะคอยระบายความร้อน ของไอดีอุณหภูมิสูงให้ลดลงมวลไอดี จะมีความหนาแน่นขึ้น การเผาไหม้ดีขึ้น เครื่องยนต์พลังแรงขึ้น
อากาศที่ถูกอัดจากเทอร์โบจะมีความร้อนสูงเนื่องมาจาก โมเลกุลของอากาศผ่านการเสียดสีกับกังหันเทอร์โบด้วยความเร็วสูงเมื่ออัดเข้าสู่ท่อไอดีแรงดันของอากาศจะทำให้โมเลกุลเกิดการกระทบกันอีกความร้อนจะเพิ่มสูงมาก จากอุณหภูมิปกติ 35 – 45 องศาจะสูงขึ้นเป็น 90 – 120 องศา และทุกๆ 1องศาของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น จะมีผลทำให้อุณหภูมิไอเสียเพิ่มขึ้นอีก 3 องศา ดังนั้นอินเตอร์คูเลอร์จะทำหน้าที่ลดความร้อนไอดีให้กลับมาที่อุณหภูมิปกติ ในอินเตอร์ที่ดีน่าจะลดความร้อนให้กลับมาอยู่ที่ 20- 50 องศาการลดความร้อนที่ดีขึ้นอยู่กับ การเลือกใช้อินเตอร์ การติดตั้ง และคุณภาพของอินเตอร์ที่นำมาติดตั้ง
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
ระบบระบายความร้อน,
อินเตอร์คูลเลอร์,
Engine,
Intercooler
ข้อดีและช้อเสียของเทอร์โบแปรผัน
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:48
ข้อดีของเทอร์โบแปรผัน
1. ลดอาการ Turbo lag หรืออาการรอรอบ ทำให้เครื่องยนต์มีแรงบิด และแรงม้าดีขึ้นตั่งแต่รอบต่ำ2. ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงมากขึ้น จากการสร้างแรงบิดได้ตั่งแต่รอบต่ำ เครื่องยนต์จึงอาศัยอัตราเร่งน้อยกว่า
3.ลดมลพิษ ไม่มีไอเสียที่เหลือปล่อยทิ้งทางเวสเกต ทำให้ฝุ่นละอองไนโตรเจนลดลง
ข้อเสียของเทอร์โบแปรผัน
1. ราคาสูงกว่าเทอร์โบธรรมดาทั่วๆไปเพราะใช้อุปกรณ์มากกว่า2. การดูแลรักษายาก คราบเขม่าไอเสียอาจจับตัวกับอุปกรณ์ภายใน จนเกิดการติดขัด เสียหายได้
3. ยากในการปรับแต่ง เช่นในการเพิ่มบูชแรงดันอากาศ การติดตั้งเวสเกตแยก จึงไม่เหมาะกับรถที่ใช้ในการแข่งขันหลายร้อยแรงม้า
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
เทอร์โบแปรผัน,
วิชาช่างยนต์,
Engine,
VGT
การทำงานของเทอร์โบแปรผัน
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:42
เทอร์โบ มีหน้าที่อัดอากาศเข้าสู่ห้องเผาไหม้ โดยอาศัยการหมุนของกังหันเทอร์ไบน์ ด้านไอดีที่หมุนตามเทอร์ไบน์ ด้านไอเสียด้วยความเร็วสูง จนเกิดแรงดันอากาศหรือแรงบูชขึ้นมา ดั้งนั้นการจะทำให้เกิดแรงดันอย่างรวดเร็ว ก็คือการทำให้ใบพัดด้านไอเสียหมุนให้ได้อย่างรวดเร็วที่สุด ขึ้นอยู่กับค่า A/R ของเทอร์โบหรือขนาดของโข่งหลัง โข่งหลังของเทอร์โบที่มีขนาดเล็ก ย่อมทำให้ใบพัดหมุนได้เร็วกว่าทำให้บูชมาได้เร็วกว่า แต่พอรอบปลายก็จะเกิดอาการอั้นของไอเสีย จนทำให้แรงเครื่องยนต์ตก และโข่งหลังที่มีขนาดใหญ่หรือ A/R สูง ย่อมทำให้กังหันเทอร์ไบน์หมุนได้ช้ากว่า แต่พอรอบสูงๆจะหมุนได้เร็วและไม่อั้นไอเสียทำให้เครื่องยนต์มีแรงม้าเพิ่มขึ้นในรอบปลาย ดั้งนั้นเทอร์โบแปรผันออกแบบมาเพื่อแก้ปัญหานี้คือ ในเทอร์โบแปรผันจะมีครีบ Vane ทำหน้าที่กั้นอากาศไอเสียให้ไหลลงมายังกังหันเทอร์ไบน์ได้เร็วขึ้นในรอบต้น แต่พอรอบสูงขึ้นครีบก็จะกางออกเพื่อรองรับไอเสียที่ที่ออกมามากขึ้น การเปิดครีบออกของ Vane จะได้รับการควบคุมมาจาก แอกชัวเอเตอร์ ที่มีลักษณะเหมือนกระป๋องเวสเกตธรรมดา หรือมอเตอร์ไฟฟ้าที่ควบคุมการหมุนโดย ECU ต่อแกนมาดันชุด Roller ให้หมุนเพื่อไปขยับครีบให้กางออก และหุบเข้าได้ พอรอบต่ำครีบก็จะหุบตัวลงไอเสียก็จะมีความเร็วทำให้ใบพัดเทอร์ไบน์หมุนได้เร็วขึ้น จนสามารถสร้างแรงดันอากาศได้อย่างรวดเร็วไม่รอรอบ ในเวลารอบสูงครีบก็จะกางออกลดอาการต้านของแรงดันไอเสีย ทำให้ไอเสียไหลลงสู่ใบพัดเทอร์ไบน์ได้อย่างคล่องตัว แรงม้าของเครื่องยนต์ก็จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และด้วยการควบคุมการเปิดของ Vane จะเป็นตัวบังคับให้ความเร็วในการหมุนของใบพัดเทอร์ไบน์หมุนได้ที่ความเร็วจำกัด แม้ปริมาณไอเสียจะมากเพียงใด จึงทำให้เทอร์โบแปรผัน ไม่ต้องใช้เวสเกตในการควบคุมแรงดันไอเสียแต่อย่างใด
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
เทอร์โบแปรผัน,
วิชาช่างยนต์,
Engine,
VGT
ส่วนประกอบของเทอร์โบแปรผัน หรือครีบปรับแรงดันไอเสีย
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:31
เทอร์โบแปรผัน ก็ไม่แตกต่างจากเทอร์โบธรรมดาทั่วไป ในโข่งหน้าไอดีมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ จะต่างกันที่ในด้านโข่งไอเสีย ภายในจะมีครีบปรับแรงดันไอเสีย ประกอบด้วย
1. Nozzle Vane เป็นลักษณะคล้ายครีบบางๆ คล้ายบานเกล็ดหน้าต่าง วางเรียงตัวกันรอบๆ โข่งไอเสีย ครีบแต่ละตัวจะมีหมุดต่อมายัง ชุดโรลเลอร์และจานหมุนเพื่อให้สามารถกางออก และหุบตัวได้
2. Pin เป็นหมุดเล็กๆ ครีบจะสามารถขยับกางออก ต้องอาศัยหมุดนี้เป็นตัวประครองชุดหมุนหรือ โรเลอร์
3. Roller หรือจานหมุน จะสามารถขยับตัวหมุนรอบๆโข่งไอเสีย โดยจะมีแกนต่อมาจากตัวดันเช่น มอเตอร์ไฟฟ้า หรือแอกชัวเอเตอร์ มาดันให้ชุดโรเลอร์ ขยับหมุนเพื่อไปดันให้ครีบกางออก หรือหุบเข้า
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
เทอร์โบแปรผัน,
วิชาช่างยนต์,
Engine,
VGT
ประวัติและความเป็นมาของเทอร์โบแปรผัน
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:23
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
เทอร์โบแปรผัน,
วิชาช่างยนต์,
Engine,
VGT
เทอร์โบแปรผัน คือ อะไร ? มีไว้ทำอะไร | ชิ้นส่วนและอุปกรณ์สำหรับเครื่องยนต์
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:18
ป้ายกำกับ:
เครื่องยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
เทอร์โบแปรผัน,
วิชาช่างยนต์,
VGT
เทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ | เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่
Posted by Contemporary industry
Posted on 09:00
เรื่องเทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ
1. คุณลักษณะเทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ (Electronically - Modulated Air Suspension = EMAS)
4แผนภูมิส่วนประกอบระบบรองรับด้วยอากาศ
4หน้าที่แต่ละส่วนประกอบหลัก
2. การทำงานของส่วนประกอบการสลายแรงสั่นสะเทือนและความแข็ง (Mode Change)
4สวิตช์ควบคุมตำแหน่งขับขี่
4เซ็นเซอร์บังคับเลี้ยว
4สวิตช์ไฟเบรก
4เซ็นเซอร์ตำแหน่งลิ้นเร่ง
4เซ็นเซอร์ความเร็วรถตัวที่ 1
3. แอ็คชิวเอเตอร์ควบคุมระบบรองรับ (Actuator)
4คุณลักษณะแอ็คชิวเอเตอร์
4การทำงานแอ็คชิวเอเตอร์
4. กระบอกลมระบบรองรับด้วยอากาศ
4โช๊คอัพ
~ โครงสร้างและการทำงานของโช๊คอัพ
~ การทำงานของโช๊คอัพ
4ส่วนประกอบและการทำงานห้องอากาศและลิ้นอากาศกระบอกลม
4ไฟแสดงตำแหน่งขับขี่
5. การทำงานของส่วนประกอบควบคุมความสูงของรถ
4วงจรควบคุมความสูงรถ
4ผังวงจรไฟฟ้าควบคุมการทำงานระบบรองรับอากาศ
4สวิตช์ควบคุมความสูงรถ
4เซ็นเซอร์ควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์เปิด/ปิดควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์ไฟประตูรถ
4สัญญาณไอซีเร็กกูเลเตอร์
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 2
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 1
4ปั๊มลมควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นระบายและตัวดูดความชื้นควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นควบคุมความสูงรถตัวที่ 1 และตัวที่ 2
6. การควบคุมการสลายแรงสั่นสะเทือนระบบรองรับด้วยอากาศ
4ระบบควบคุม
4ตำแหน่งของระบบรองรับ (Suspension Modes)
4การควบคุมอาการหน้าเชิด
4การควบคุมอาการโคลง
4การควบคุมอาการหน้าทิ่ม
4การควบคุมความเร็วสูง (เฉพาะตำแหน่ง NORM)
4การควบคุมขณะถนนขรุขระ การกระดอนและการเต้นกระโดดของรถ
1. คุณลักษณะเทคโนโลยีรองรับด้วยอากาศ (Electronically - Modulated Air Suspension = EMAS)
4แผนภูมิส่วนประกอบระบบรองรับด้วยอากาศ
4หน้าที่แต่ละส่วนประกอบหลัก
2. การทำงานของส่วนประกอบการสลายแรงสั่นสะเทือนและความแข็ง (Mode Change)
4สวิตช์ควบคุมตำแหน่งขับขี่
4เซ็นเซอร์บังคับเลี้ยว
4สวิตช์ไฟเบรก
4เซ็นเซอร์ตำแหน่งลิ้นเร่ง
4เซ็นเซอร์ความเร็วรถตัวที่ 1
3. แอ็คชิวเอเตอร์ควบคุมระบบรองรับ (Actuator)
4คุณลักษณะแอ็คชิวเอเตอร์
4การทำงานแอ็คชิวเอเตอร์
4. กระบอกลมระบบรองรับด้วยอากาศ
4โช๊คอัพ
~ โครงสร้างและการทำงานของโช๊คอัพ
~ การทำงานของโช๊คอัพ
4ส่วนประกอบและการทำงานห้องอากาศและลิ้นอากาศกระบอกลม
4ไฟแสดงตำแหน่งขับขี่
5. การทำงานของส่วนประกอบควบคุมความสูงของรถ
4วงจรควบคุมความสูงรถ
4ผังวงจรไฟฟ้าควบคุมการทำงานระบบรองรับอากาศ
4สวิตช์ควบคุมความสูงรถ
4เซ็นเซอร์ควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์เปิด/ปิดควบคุมความสูงรถ
4สวิตช์ไฟประตูรถ
4สัญญาณไอซีเร็กกูเลเตอร์
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 2
4รีเลย์ควบคุมความสูงรถตัวที่ 1
4ปั๊มลมควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นระบายและตัวดูดความชื้นควบคุมความสูงรถ
4ลิ้นควบคุมความสูงรถตัวที่ 1 และตัวที่ 2
6. การควบคุมการสลายแรงสั่นสะเทือนระบบรองรับด้วยอากาศ
4ระบบควบคุม
4ตำแหน่งของระบบรองรับ (Suspension Modes)
4การควบคุมอาการหน้าเชิด
4การควบคุมอาการโคลง
4การควบคุมอาการหน้าทิ่ม
4การควบคุมความเร็วสูง (เฉพาะตำแหน่ง NORM)
4การควบคุมขณะถนนขรุขระ การกระดอนและการเต้นกระโดดของรถ
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยียานยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
วิชาช่างยนต์,
ไอเสีย
การควบคุมมลพิษจากไอเสียรถยนต์
Posted by Contemporary industry
Posted on 08:43
รัฐบาลได้มีการออกกฏหมายควบคุมไอเสียรถยนต์ โดยแบ่งออกเป็นรถยนต์ใหม่และรถยนต์เก่า สำหรับรถยนต์ใหม่ทางสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นผู้ออกมาตรฐานมาควบคุมมลพิษจากไอเสียรถยนต์โดยใช้มาตรฐานของยุโรป ซึ่งถือว่าเหมาะสมกับประเทศไทย เพราะมีปัญหาฝุ่นละอองคล้ายกัน และมีแบบทดสอบใกล้เคียงกับการจราจรในประเทศมากที่สุดเมื่อเทียบกับมาตรฐานในประเทศอื่น |
เรื่องเทคโนโลยีควบคุมมลพิษไอเสีย
1. มาตรฐานไอเสียรถยนต์ในประเทศไทย
4คุณลักษณะมลพิษในอากาศ
4การควบคุมสารมลพิษจากไอเสียรถยนต์
4การแก้ปัญหามลพิษจากไอเสียรถยนต์
2. หลักการควบคุมมลพิษจากรถยนต์ (Emission Control for Automobiles)
4แหล่งกำเนิดมลพิษจากรถยนต์เครื่องยนต์เบนซิน
4แหล่งกำเนิดมลพิษจากรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซล
4การควบคุมไอน้ำมันเครื่องห้องเพลาข้อเหวี่ยง (Crankcase Ventilation)
4ระบบหมุนเวียนไอเสียเผาไหม้ซ้ำ และระบบควบคุมไอระเหยน้ำมันเบนซิน
4ระบบควบคุมไอระเหยน้ำมันเบนซิน (Evaporative Emission Control System)
3. ระบบท่อไอเสียรถยนต์ (Exhaust System)
4การลดเสียงดังจากการคายไอเสียเครื่องยนต์
4ส่วนประกอบระบบท่อไอเสียรถยนต์
4ตำแหน่งหม้อพักไอเสียและการกัดกร่อนท่อไอเสีย
~ ตำแหน่งหม้อพักไอเสียระบบใช้หม้อพักไอเสียลูกเดี่ยว
~ การกัดกร่อนท่อไอเสีย
~ การผุกร่อนของระบบท่อไอเสีย
4. ตัวฟอกไอเสียเครื่องยนต์เบนซินเพื่อลดมลพิษ
4ตัวฟอกไอเสียแบบออกซิเดชั่นหรือแบบทางเดียว (Oxidation Catalytic Converter
หรือ One-Bed Oxidation Catalytic Converter)
4ตัวฟอกไอเสียแบบ 2 ทาง (Double-Bed Catalytic Converter)
4ตัวฟอกไอเสียแบบ 3 ทาง (3 - Way Catalytic Converter)
4ระบบบรรจุสารแปรสภาพไอเสีย
4เงื่อนไขการใช้งานตัวฟอกไอเสีย
5. เซ็นเซอร์ออกซิเจน (Oxygen Sensor หรือ Lambda Sensor)
6. การตรวจเซ็นเซอร์ออกซิเจนและวิเคราะห์ส่วนประกอบแก๊สไอเสีย
4การตรวจสภาพเซ็นเซอร์ออกซิเจน
4งานตรวจ CD/HC ที่ความเร็วรอบเดินเบา
4การวิเคราะห์ค่า HC, CO และ O2
7. คุณลักษณะและการทำงานระบบขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยไฟฟ้า
4คุณลักษณะขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยไฟฟ้า (Electric Vehicle)
4รถโดยสารไฟฟ้า (Duo Bus)
4ระบบขับเคลื่อนรถยนต์ (Hybrid Drive)
~ ขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยมอเตอร์
~ ขับเคลื่อนรถยนต์ด้วยมอเตอร์และเครื่องยนต์
~ ขับเคลื่อนแบบผสมใช้ล้อช่วยแรงพิเศษ
4รถนั่งขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยียานยนต์,
เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่,
วิชาช่างยนต์,
ไอเสีย
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)