Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |

ยานยนต์อุตสาหกรรม | ส่วนประกอบพื้นฐาน

ส่วนประกอบพื้นฐาน
ยานยนต์อุตสาหกรรมครื่องยนต์ใช้พลังจากเครื่องยนต์ทั้งในการขับเคลื่อนและในการยก ส่วนยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้านั้นแยกมอเตอร์ฟังก์ชั่นการทำงานแต่ละชนิดออกจากกัน

ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้า





ยานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์





ส่วนประกอบของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้า
แบบไฟฟ้า: มอเตอร์ไฟฟ้าหลายประเภทที่ให้กำลังในการทำงานของรถยกฟอร์คลิฟท์ โดยปรกติแล้ว มอเตอร์ไฟฟ้าหนึ่งตัวจะถูกใช้เพื่อจ่ายพลังงานไปยังล้อขับเคลื่อน ส่วนมอเตอร์ไฟฟ้าอีกตัวจะถูกใช้เพื่อจ่ายพลังงานไปยังปั๊มไฮดรอลิค ซึ่งทำให้ระบบควบคุมการโหลดทำงานเพื่อการยกและและการเอียงของรถยก ซึ่งในบางรุ่นยังมีมอเตอร์อีกตัวหนึ่งเพื่อให้กำลังแก่ระบบพวงมาลัยพาวเวอร์




แบบเครื่องยนต์: เครื่องยนต์หนึ่งตัวจ่ายพลังงานไปยังการทำงานทั้งหมดของรถยกฟอร์คลิฟท์พลังเครื่องยนต์ ซึ่งทำให้ล้อขับเคลื่อน ปั๊มไฮดรอลิคสำหรับระบบควบคุมการโหลด ทั้งยังระบบพวงมาลัยพาวเวอร์ทำงาน






b) ระบบขับเคลื่อน
 แบบไฟฟ้า: ตัวควบคุมหนึ่งตัวถูกใช้เพื่อเปลี่ยนทิศทางของกระแสไฟฟ้าไปยังมอเตอร์และจึงควบคุมทิศทางการเดินทางของรถยกด้วย ตัวควบคุมดังกล่าวยังถูกใช้เพื่อควบคุมการเร่งความเร็วของรถยกอีกด้วย

แบบเครื่องยนต์: ความเร็วและ พลังงานของเครื่องยนต์ถูกควบคุมโดยคันเร่ง การควบคุมทิศทาง ความเร็วในการเดินและแรงดึงของรถยก







c) ระบบควบคุมการโหลด
แบบไฟฟ้า: มอเตอร์ปั๊มขับเคลื่อนปั๊มไฮดรอลิคซึ่งสร้างพลังงานไฮดรอลิคสำหรับการทำงานของระบบควบคุมการโหลด ตัวมอเตอร์นี้มีความเร็วที่ถูกกำหนดหากไม่ได้ใช้ตัวตัดการควบคุมการโหลด อัตราการไหลของของเหลวไฮดรอลิคจะถูกควบคุมโดยตัวยกควบคุมซึ่งถูกควบคุมแบบแมนนวลโดยผู้ปฏิบัติการ



แบบเครื่องยนต์: เครื่องยนต์ให้กำลังแก่ปั๊มไฮดรอลิค ความเร็วในการยกถูกควบคุมโดยจำนวนการไหลของของเหลวไฮดรอลิคซึ่งถูกควบคุมโดยตัวควบคุม



















ยานยนต์อุตสาหกรรม | ข้อมูลจำเพาะของส่วนต่างๆ


เสถียรภาพด้านข้าง
                สามเหลี่ยมความมั่นคงยังใช้บอกถึงเสถียรภาพด้านข้างด้วยยกตัวอย่างเช่น เมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมไม่ได้บรรทุกสิ่งของบนงา  ความมั่นคงในแนวตั้งจะดีกว่าเมื่อบรรทุกสิ่งของแต่เสถียรภาพด้านข้างจะลดลง
                ดังที่ได้เห็นในรูปตัวอย่าง เมื่อไม่มีสิ่งของถูกบรรทุกบนงา ศูนย์ถ่วงของรถยกนั่นอยู่ค่อนข้างไปทางด้านหลังของตัวรถมากกว่า
เมื่อมีการบรรทุกสิ่งของ ผลที่ได้ก็คือ ระยะห่างจากขีดจำกัดทางแนวตั้งของสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น (เช่น เสถียรภาพในแนวตั้งนั้นดี) อย่างไรก็ตามระยะห่างจากขีดจำกัดทางด้านข้างของสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยจะลดลง (เช่น เสถียรภาพด้านข้างจะลดลง)
                ระบบรักษาเสถียรภาพขณะขับเคลื่อน (SAS) ถูกพัฒนาขึ้นตามทฤษฎีที่ได้เสนอไปแล้วด้านบน หน้าต่อไปนี้จะให้คำอธิบายเกี่ยวกับคุณลักษณะของระบบ SAS





ข้อควรจำ: ขีดจำกัดการเอียงไปด้านหลังของเสายก
จำนวนการเอียงไปด้านหลังของเสายกจะลดลงยิ่งเสาถูกยกขึ้นไปสูงขึ้น(ตัวอย่างเช่น เมื่อเสายกถูกยื่นออกไปมากกว่า 4.0 เมตร จำนวนการเอียงไปด้านหลังจะถูกลดจาก 12°ไปเป็น 10° และจากนั้นก็ 6°)
ดังที่เห็นได้ในภาพประกอบ เมื่อเสายกถูกเอนไปด้านหลังในองศาเดียวกับความสูงของเสายกต่ำๆ ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมจะเลื่อนไปด้านหลัง ซึ่งช่วยเพิ่มเสถียรภาพในแนวตั้งแต่จะทำให้ระยะห่างจากขีดจำกัดด้านข้างของสามเหลี่ยมความมั่นคงลดลง อันเป็นการลดเสถียรภาพด้านข้างด้วย





ข้อควรจำ: เป็นเรื่องอันตรายมากที่จะเพิ่มน้ำหนักถ่วงดุลหรือให้คนไปนั่งบนที่ถ่วงดุลน้ำหนักเพื่อจะได้ลำเลียงสิ่งของบรรทุกได้มากกว่าความจุที่รับได้ของรยานยนต์อุตสาหกรรม หากดูทฤษฎีเบื้องหลังเสถียรภาพด้านหลังอย่างใกล้ชิดก็จะช่วยแสดงให้เห็นว่าทำไมการกระทำอย่างนั้นถึงเป็นอันตราย การกระจายน้ำหนักด้านหลังเกินค่าที่กำหนดมา ทำให้ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมเคลื่อนไปด้านหลังซึ่งทำให้ต้องยกสิ่งที่บรรทุกมากขึ้นกว่าการบรรทุกที่รถรับได้ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนที่ของศูนย์ถ่วงนี้ทำให้ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมกเคลื่อนไปใกล้ขีดจำกัดทางด้านข้างของสามเหลี่ยมความมั่นคงมากขึ้น ซึ่งทำให้รถพลิกไปด้านข้างได้

สรุปสาระสำคัญของระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังขณะขับเคลื่อน
                การรักษาเสถียรภาพเมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมทำการเลี้ยวคือสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ ด้วยสาเหตุนี้เองจึงพัฒนาระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน ทฤษฎีต่างๆ ที่อยู่เบื้องหลังเสถียรภาพของยานยนต์และการทำงานของระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนได้ถูกแสดงไว้ด้านล่าง
                ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนใช้ข้อมูลที่ถูกส่งมาจากเซ็นเซอร์หลายตัวเพื่อประเมินว่ายานยนต์อุตสาหกรรมกำลังตกอยู่ในสภาวะที่อาจเป็นอันตราย อย่างเช่นการแกว่งเอียงไปด้านหนึ่งในขณะที่เลี้ยวรถหรือเมื่อต้องทำการเร่งเครื่องเนื่องจากมีแรงดูดจากด้านข้างในขณะที่เลี้ยวรถ เป็นต้น หากมีการประเมินว่ารถอาจตกอยู่ในสภาวะที่เป็นอันตราย ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนจะทำการล็อคการแกว่งของเพลาหลังชั่วคราวเพื่อให้ยานยนต์อุตสาหกรรมมีเสถียรภาพด้านข้างในระดับสูง การล็อคเพลาหลังชั่วคราวนี้มีชื่อว่า การล็อคการแกว่ง





ปิดการทำงานระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
ภายใต้สภาวะปรกติ กระบอกสูบล็อกการแกว่งจะยืดและหดพร้อมกับการแกว่งของเพลาหลัง ซึ่งทำให้เพลาหลังแกว่งไปด้านข้างที่สลักกลางได้เหมือนกับในยานยนต์อุตสาหกรรม





เปิดการทำงานระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
เมื่อใดก็ตามที่มีการตรวจจับสภาวะที่อาจเป็นอันตรายได้ เช่นระหว่างการหักเลี้ยว ตัวควบคุมจะส่งคำสั่งให้หยุดการไหลของ
น้ำมันภายในกระบอกสูบล็อคการแกว่ง ซึ่งจะป้องกันไม่ให้กระบอกสูบล็อคการแกว่งเคลื่อนที่ อันจะเป็นการป้องกันไม่ให้เพลาแกว่ง





ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน

ยานยนต์อุตสาหกรรมแบบเดิมที่ไม่มีระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
แรงหนีจุดศูนย์ถ่วงอาจเกิดขึ้นกับยานยนต์อุตสาหกรรมได้ระหว่างการเลี้ยวหักศอก และอาจทำให้ตัวรถเอนไปด้านหนึ่งซึ่งทำให้ยานยนต์อุตสาหกรรมอยู่ในสถานะที่ไม่มั่นคง สาเหตุคือรูปแบบจุดรับน้ำหนัก 3 จุดของยานยนต์อุตสาหกรรมตามที่แสดงด้านบน เมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมหยุด จุดกลางศูนย์ถ่วงจะอยู่ใกล้โซนเสถียร อย่างไรก็ตามระหว่างการเลี้ยวหักศอก แรงหนีจุดศูนย์ถ่วงได้เคลื่อนจุดศูนย์ถ่วงไปยังด้านนอกของโซนเสถียร ซึ่งอาจทำให้ล้อหน้ายกขึ้นหรือรถคว่ำเลยก็ได้





รถยกที่มีระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
เซ็นเซอร์หลายตัว เช่นเซ็นเซอร์จับความสูงเสายก, เซ็นเซอร์จับน้ำหนักการบรรทุกและเซ็นเซอร์จับอัตราการเอน ส่งข้อมูลไปยังตัวควบคุมซึ่งจะประเมินเกี่ยวกับการล็อคเพลาหลังทันทีต่อการทำงานในสภาพเช่นการหักเลี้ยว เมื่อทำการล็อคเพลาหลังเรียบร้อยแล้ว ยานยนต์อุตสาหกรรมจะมีเสถียรภาพ 4 จุดและมีโซนเสถียรภาพที่ใหญ่กว่าซึ่งทำให้สามารถป้องกันการเอียงได้

คำเตือน
ในขณะที่ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนสามารถช่วยรักษาเสถียรภาพของยานยนต์อุตสาหกรรม แต่ระบบนี้ก็ไม่สามารถทดแทนการขับขี่ที่ไม่ระมัดระวังหรือประมาทได้ ภายใต้สภาพที่ยาก อย่างเช่นการเลี้ยวหักศอกเมื่อขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูง ทำให้กึ่งกลางจุดศูนย์ถ่วงเคลื่อนไปนอกโซนเสถียรภาพ 4 จุดและอาจทำให้ยานยนต์อุตสาหกรรมคว่ำได้
*การเอน: การเคลื่อนที่ออกจากแกนกลางไปด้านข้าง
แรงอื่นๆ ก็สามารถส่งผลต่อจุดศูนย์ถ่วงและยานยนต์อุตสาหกรรมให้เคลื่อนออกจากสามเหลี่ยมความมั่นคงได้เช่นกัน อันได้แก่แรงเฉื่อยและแรงหนีจุดศูนย์กลาง.

แรงเฉื่อย
                แรงเฉื่อยถูกอธิบายว่าคือแนวโน้มของสิ่งของที่จะต้านทานการเปลี่ยนแปลง อีกนัยหนึ่งก็คือ เมื่อสิ่งของกำลังเคลื่อนที่ มันจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงใดๆ ก็ตามที่จะเกิดกับการเคลื่อนที่นั้น หากยานยนต์อุตสาหกรรมมีการบรรทุกสิ่งของบนงา ขณะขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูง สิ่งของจะยังเคลื่อนที่ต่อไปแม้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจะหยุดเคลื่อนที่แล้วก็ตาม เหตุการณ์นี้อธิบายได้โดยสูตร
ในภาพตัวอย่าง พูดอย่างง่ายก็คือ สิ่งของเบาๆ จะเลื่อนออกจากด้านหน้าของยานยนต์อุตสาหกรรมซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วได้อย่างง่ายดายหากมีการเหยียบเบรก
                ยานยนต์อุตสาหกรรมคว่ำได้ภายใต้สภาวะดังต่อไปนี้
                LW <L1F (L2F)
            F= น้ำหนัก x การเร่งความเร็ว (การเบรกหรือแรงอื่นๆ)
                เป็นเรื่องอันตรายอย่างมากที่จะเหยียบเบรกอย่างกะทันหันในขณะที่บรรทุกสิ่งของบนเสายกที่มีความสูงมากๆ
                FL1<FL2





แรงหนีจุดศูนย์กลาง
                กล่าวอย่างง่ายๆ แรงหนีจุดศูนย์กลางคือการเคลื่อนที่ออกจากจุดศูนย์กลางของวัตถุที่กำลังเลี้ยว คุณสามารถรู้สึกถึงแรงนี้ได้เมื่อรถของคุณเข้าโค้ง แรงเดียวกันนี้เองที่ทำให้สิ่งของบรรทุกหล่นจากงายกหรือทำให้จุดศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมเคลื่อนออกจากสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยในความหมายจริงๆ ก็คือยานยนต์อุตสาหกรรมควรจะเข้าโค้งอย่างช้าๆ เมื่อของบรรทุกถูกยกขึ้นไปสูงหรือไม่ได้บรรทุกอะไรก็ตาม

ความเร็ว = V
แรงหนีศูนย์กลาง = F
m = เสายก
แรงหนีศูนย์กลาง F = mv2 / r

ยิ่งใช้ความเร็วและเลี้ยวประชิดมากเท่าใด ก็จะสร้างแรงหนีศูนย์กลางสูงขึ้นเท่านั้น จึงควรจะใช้ความระมัดระวังเมื่อเข้าโค้ง

ข้อควรจำ: การพลิกคว่ำของยานยนต์อุตสาหกรรมเป็นอุบัติเหตุที่อันตรายที่สุดอย่างหนึ่ง ต่อผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งก็มีความเป็นไปได้ที่จะหาทางออกจากยานยนต์อุตสาหกรรมหากเกิดอุบัติเหตุ ขึ้น อย่างไรก็ตามความสำเร็จที่จะหลุดออกจากตัวรถนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยและผู้ ปฏิบัติงานต้องติดอยู่ภายใต้หลังคาป้องกันในเหตุการณ์รถพลิกคว่ำนั้น ผู้ปฏิบัติงานควรยึดพวงมาลัยไว้ให้แน่นและพยายามประคองตนให้อยู่ในห้องผู้ ปฏิบัติงานจนกว่ารถจะหยุดหมุน






















donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved