Home »
ยานยนต์ อุตสาหกรรม
,
รถยก
,
รถยกอุตสาหกรรม
,
อุตสาหกรรมรถยก
» ยานยนต์อุตสาหกรรม | ข้อมูลจำเพาะของส่วนต่างๆ
ยานยนต์อุตสาหกรรม | ข้อมูลจำเพาะของส่วนต่างๆ
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:32
รวมข่าวสาร ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับเทคโนโลยียานยนต์ | ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ | การออกแบบผลิตภัณฑ์ด้านยนต์กรรม | รวมข้อมูลทั่วไปของเทคโนโลยีต่างๆด้านยานยนต์
car donation in new york | car donation los angeles | car donation oakland | car donation programs | car donation sacramento | car donation san francisco | car donation san jose | car donation tax | car donation tax value | car donation tax write off | car donation to charity | cars for donation | charities that accept car donations |
เสถียรภาพด้านข้าง
สามเหลี่ยมความมั่นคงยังใช้บอกถึงเสถียรภาพด้านข้างด้วยยกตัวอย่างเช่น เมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมไม่ได้บรรทุกสิ่งของบนงา ความมั่นคงในแนวตั้งจะดีกว่าเมื่อบรรทุกสิ่งของแต่เสถียรภาพด้านข้างจะลดลง
ดังที่ได้เห็นในรูปตัวอย่าง เมื่อไม่มีสิ่งของถูกบรรทุกบนงา ศูนย์ถ่วงของรถยกนั่นอยู่ค่อนข้างไปทางด้านหลังของตัวรถมากกว่า
เมื่อมีการบรรทุกสิ่งของ ผลที่ได้ก็คือ ระยะห่างจากขีดจำกัดทางแนวตั้งของสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น (เช่น เสถียรภาพในแนวตั้งนั้นดี) อย่างไรก็ตามระยะห่างจากขีดจำกัดทางด้านข้างของสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยจะลดลง (เช่น เสถียรภาพด้านข้างจะลดลง)
ระบบรักษาเสถียรภาพขณะขับเคลื่อน (SAS) ถูกพัฒนาขึ้นตามทฤษฎีที่ได้เสนอไปแล้วด้านบน หน้าต่อไปนี้จะให้คำอธิบายเกี่ยวกับคุณลักษณะของระบบ SAS
ข้อควรจำ: ขีดจำกัดการเอียงไปด้านหลังของเสายก
จำนวนการเอียงไปด้านหลังของเสายกจะลดลงยิ่งเสาถูกยกขึ้นไปสูงขึ้น(ตัวอย่างเช่น เมื่อเสายกถูกยื่นออกไปมากกว่า 4.0 เมตร จำนวนการเอียงไปด้านหลังจะถูกลดจาก 12°ไปเป็น 10° และจากนั้นก็ 6°)
ดังที่เห็นได้ในภาพประกอบ เมื่อเสายกถูกเอนไปด้านหลังในองศาเดียวกับความสูงของเสายกต่ำๆ ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมจะเลื่อนไปด้านหลัง ซึ่งช่วยเพิ่มเสถียรภาพในแนวตั้งแต่จะทำให้ระยะห่างจากขีดจำกัดด้านข้างของสามเหลี่ยมความมั่นคงลดลง อันเป็นการลดเสถียรภาพด้านข้างด้วย
ข้อควรจำ: เป็นเรื่องอันตรายมากที่จะเพิ่มน้ำหนักถ่วงดุลหรือให้คนไปนั่งบนที่ถ่วงดุลน้ำหนักเพื่อจะได้ลำเลียงสิ่งของบรรทุกได้มากกว่าความจุที่รับได้ของรยานยนต์อุตสาหกรรม หากดูทฤษฎีเบื้องหลังเสถียรภาพด้านหลังอย่างใกล้ชิดก็จะช่วยแสดงให้เห็นว่าทำไมการกระทำอย่างนั้นถึงเป็นอันตราย การกระจายน้ำหนักด้านหลังเกินค่าที่กำหนดมา ทำให้ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมเคลื่อนไปด้านหลังซึ่งทำให้ต้องยกสิ่งที่บรรทุกมากขึ้นกว่าการบรรทุกที่รถรับได้ อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนที่ของศูนย์ถ่วงนี้ทำให้ศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมกเคลื่อนไปใกล้ขีดจำกัดทางด้านข้างของสามเหลี่ยมความมั่นคงมากขึ้น ซึ่งทำให้รถพลิกไปด้านข้างได้
สรุปสาระสำคัญของระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังขณะขับเคลื่อน
การรักษาเสถียรภาพเมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมทำการเลี้ยวคือสิ่งที่ควรให้ความสำคัญ ด้วยสาเหตุนี้เองจึงพัฒนาระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน ทฤษฎีต่างๆ ที่อยู่เบื้องหลังเสถียรภาพของยานยนต์และการทำงานของระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนได้ถูกแสดงไว้ด้านล่าง
ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนใช้ข้อมูลที่ถูกส่งมาจากเซ็นเซอร์หลายตัวเพื่อประเมินว่ายานยนต์อุตสาหกรรมกำลังตกอยู่ในสภาวะที่อาจเป็นอันตราย อย่างเช่นการแกว่งเอียงไปด้านหนึ่งในขณะที่เลี้ยวรถหรือเมื่อต้องทำการเร่งเครื่องเนื่องจากมีแรงดูดจากด้านข้างในขณะที่เลี้ยวรถ เป็นต้น หากมีการประเมินว่ารถอาจตกอยู่ในสภาวะที่เป็นอันตราย ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนจะทำการล็อคการแกว่งของเพลาหลังชั่วคราวเพื่อให้ยานยนต์อุตสาหกรรมมีเสถียรภาพด้านข้างในระดับสูง การล็อคเพลาหลังชั่วคราวนี้มีชื่อว่า การล็อคการแกว่ง
ปิดการทำงานระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
ภายใต้สภาวะปรกติ กระบอกสูบล็อกการแกว่งจะยืดและหดพร้อมกับการแกว่งของเพลาหลัง ซึ่งทำให้เพลาหลังแกว่งไปด้านข้างที่สลักกลางได้เหมือนกับในยานยนต์อุตสาหกรรม
เปิดการทำงานระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
เมื่อใดก็ตามที่มีการตรวจจับสภาวะที่อาจเป็นอันตรายได้ เช่นระหว่างการหักเลี้ยว ตัวควบคุมจะส่งคำสั่งให้หยุดการไหลของ
น้ำมันภายในกระบอกสูบล็อคการแกว่ง ซึ่งจะป้องกันไม่ให้กระบอกสูบล็อคการแกว่งเคลื่อนที่ อันจะเป็นการป้องกันไม่ให้เพลาแกว่ง
ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
ยานยนต์อุตสาหกรรมแบบเดิมที่ไม่มีระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
แรงหนีจุดศูนย์ถ่วงอาจเกิดขึ้นกับยานยนต์อุตสาหกรรมได้ระหว่างการเลี้ยวหักศอก และอาจทำให้ตัวรถเอนไปด้านหนึ่งซึ่งทำให้ยานยนต์อุตสาหกรรมอยู่ในสถานะที่ไม่มั่นคง สาเหตุคือรูปแบบจุดรับน้ำหนัก 3 จุดของยานยนต์อุตสาหกรรมตามที่แสดงด้านบน เมื่อยานยนต์อุตสาหกรรมหยุด จุดกลางศูนย์ถ่วงจะอยู่ใกล้โซนเสถียร อย่างไรก็ตามระหว่างการเลี้ยวหักศอก แรงหนีจุดศูนย์ถ่วงได้เคลื่อนจุดศูนย์ถ่วงไปยังด้านนอกของโซนเสถียร ซึ่งอาจทำให้ล้อหน้ายกขึ้นหรือรถคว่ำเลยก็ได้
รถยกที่มีระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อน
เซ็นเซอร์หลายตัว เช่นเซ็นเซอร์จับความสูงเสายก, เซ็นเซอร์จับน้ำหนักการบรรทุกและเซ็นเซอร์จับอัตราการเอน ส่งข้อมูลไปยังตัวควบคุมซึ่งจะประเมินเกี่ยวกับการล็อคเพลาหลังทันทีต่อการทำงานในสภาพเช่นการหักเลี้ยว เมื่อทำการล็อคเพลาหลังเรียบร้อยแล้ว ยานยนต์อุตสาหกรรมจะมีเสถียรภาพ 4 จุดและมีโซนเสถียรภาพที่ใหญ่กว่าซึ่งทำให้สามารถป้องกันการเอียงได้
คำเตือน
ในขณะที่ระบบควบคุมเสถียรภาพด้านหลังในขณะขับเคลื่อนสามารถช่วยรักษาเสถียรภาพของยานยนต์อุตสาหกรรม แต่ระบบนี้ก็ไม่สามารถทดแทนการขับขี่ที่ไม่ระมัดระวังหรือประมาทได้ ภายใต้สภาพที่ยาก อย่างเช่นการเลี้ยวหักศอกเมื่อขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูง ทำให้กึ่งกลางจุดศูนย์ถ่วงเคลื่อนไปนอกโซนเสถียรภาพ 4 จุดและอาจทำให้ยานยนต์อุตสาหกรรมคว่ำได้
*การเอน: การเคลื่อนที่ออกจากแกนกลางไปด้านข้าง
แรงอื่นๆ ก็สามารถส่งผลต่อจุดศูนย์ถ่วงและยานยนต์อุตสาหกรรมให้เคลื่อนออกจากสามเหลี่ยมความมั่นคงได้เช่นกัน อันได้แก่แรงเฉื่อยและแรงหนีจุดศูนย์กลาง.
แรงเฉื่อย
แรงเฉื่อยถูกอธิบายว่าคือแนวโน้มของสิ่งของที่จะต้านทานการเปลี่ยนแปลง อีกนัยหนึ่งก็คือ เมื่อสิ่งของกำลังเคลื่อนที่ มันจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงใดๆ ก็ตามที่จะเกิดกับการเคลื่อนที่นั้น หากยานยนต์อุตสาหกรรมมีการบรรทุกสิ่งของบนงา ขณะขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูง สิ่งของจะยังเคลื่อนที่ต่อไปแม้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจะหยุดเคลื่อนที่แล้วก็ตาม เหตุการณ์นี้อธิบายได้โดยสูตร
ในภาพตัวอย่าง พูดอย่างง่ายก็คือ สิ่งของเบาๆ จะเลื่อนออกจากด้านหน้าของยานยนต์อุตสาหกรรมซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วได้อย่างง่ายดายหากมีการเหยียบเบรก
ยานยนต์อุตสาหกรรมคว่ำได้ภายใต้สภาวะดังต่อไปนี้
LW <L1F (L2F)
F= น้ำหนัก x การเร่งความเร็ว (การเบรกหรือแรงอื่นๆ)
เป็นเรื่องอันตรายอย่างมากที่จะเหยียบเบรกอย่างกะทันหันในขณะที่บรรทุกสิ่งของบนเสายกที่มีความสูงมากๆ
FL1<FL2
แรงหนีจุดศูนย์กลาง
กล่าวอย่างง่ายๆ แรงหนีจุดศูนย์กลางคือการเคลื่อนที่ออกจากจุดศูนย์กลางของวัตถุที่กำลังเลี้ยว คุณสามารถรู้สึกถึงแรงนี้ได้เมื่อรถของคุณเข้าโค้ง แรงเดียวกันนี้เองที่ทำให้สิ่งของบรรทุกหล่นจากงายกหรือทำให้จุดศูนย์ถ่วงของยานยนต์อุตสาหกรรมเคลื่อนออกจากสามเหลี่ยมที่ปลอดภัยในความหมายจริงๆ ก็คือยานยนต์อุตสาหกรรมควรจะเข้าโค้งอย่างช้าๆ เมื่อของบรรทุกถูกยกขึ้นไปสูงหรือไม่ได้บรรทุกอะไรก็ตาม
ความเร็ว = V
แรงหนีศูนย์กลาง = F
m = เสายก
แรงหนีศูนย์กลาง F = mv2 / r
ยิ่งใช้ความเร็วและเลี้ยวประชิดมากเท่าใด ก็จะสร้างแรงหนีศูนย์กลางสูงขึ้นเท่านั้น จึงควรจะใช้ความระมัดระวังเมื่อเข้าโค้ง
ข้อควรจำ: การพลิกคว่ำของยานยนต์อุตสาหกรรมเป็นอุบัติเหตุที่อันตรายที่สุดอย่างหนึ่ง ต่อผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งก็มีความเป็นไปได้ที่จะหาทางออกจากยานยนต์อุตสาหกรรมหากเกิดอุบัติเหตุ ขึ้น อย่างไรก็ตามความสำเร็จที่จะหลุดออกจากตัวรถนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยและผู้ ปฏิบัติงานต้องติดอยู่ภายใต้หลังคาป้องกันในเหตุการณ์รถพลิกคว่ำนั้น ผู้ปฏิบัติงานควรยึดพวงมาลัยไว้ให้แน่นและพยายามประคองตนให้อยู่ในห้องผู้ ปฏิบัติงานจนกว่ารถจะหยุดหมุน
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)