ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบการลำเลียงสิ่งของ
Posted by Contemporary industry
Posted on 04:02
ระบบการลำเลียงสิ่งของ
เสายานยนต์อุตสาหกรรมคือ โครงสร้างตั้งตรงที่คุณเห็นได้ในส่วนด้านหน้าของยานยนต์อุตสาหกรรม โดยทั่ว ๆ ไป มันจะถูกยกขึ้นไปยังแกนด้านหน้าของตัวรถ และถูกรองรับด้วยกระบอกสูบเอียง
ยานยนต์อุตสาหกรรมถูกใช้เพื่อยกวัตถุไปยังตำแหน่งที่สูงกว่าทั้งในร่ม และกลางแจ้ง กระบอกสูบยกไฮดรอลิกทำหน้าที่เหมือนคันชักเพื่อยื่นตัวเสาไปด้านบน นอกเหนือไปจากกระบอกสูบยก ก็ยังมีกระบอกสูบเอียงดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นอีกด้วย กระบอกสูบเหล่านี้ทำให้เสารถยกเอนไปด้านหน้าหรือด้านหลังได้
ขณะที่งากำลังยก เสารถยกด้านในก็เริ่มยกตัวระหว่างเสาด้านนอกและขึ้นไปยังความสูงสูงสุด พึงจำไว้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมใช้การออกแบบชนิดถ่วงดุล ซึ่งหมายความว่าน้ำหนักที่ด้านหลังของตัวยานยนต์อุตสาหกรรมจะชดเชยน้ำหนักของบรรทุกที่กำลังถูกยก เพื่อไม่ให้ยานยนต์อุตสาหกรรมเอนไปด้านหน้า
ความสำคัญของความแข็งแรงและการมองเห็นได้ของเสายานยนต์อุตสาหกรรม
เนื่องจากยานยนต์อุตสาหกรรมอาจต้องยกของที่หนักหลายตันขึ้นไปสูง ๆ ความแข็งแรงของเสาจึงเป็นเรื่องที่สำคัญสูงสุด เสายานยนต์อุตสาหกรรมได้รับการออกแบบมาให้ตรงกับความต้องการเหล่านี้ และถูกทดสอบภายใต้ปัจจัยแวดล้อมที่สมบุกสมบันกว่าที่จะถูกใช้ง่ายจริง ๆ
ปัจจัยที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ การมองเห็นด้านหน้า เนื่องจากผู้ปฏิบัติงานต้องมองผ่านเสารถยกในขณะขับขี่หรือลำเลียงสิ่งของ การพัฒนาใดๆ เกี่ยวกับการมองเห็นด้านหน้าจึงสามารถเพิ่มทั้งศักยภาพการผลิตและความปลอดภัยได้อย่างมาก ด้วยเหตุผลนี้เองที่ทำให้ ยานยนต์อุตสาหกรรมลงทุนทำการวิจัยเกี่ยวกับตำแหน่งของกระบอกลูกสูบตัวยกเพื่อให้ได้การกีดขวางการมองเห็นด้านหน้าน้อยที่สุด เช่นเดียวกับการพัฒนารูปแบบเสายานยนต์อุตสาหกรรมภายใน และภายนอกให้บางกว่าโดยไม่สูญเสียความแข็งแรงไป ตัวอย่างที่ยอดเยี่ยมอันหนึ่งของความสำเร็จของยานยนต์อุตสาหกรรม คือเสายานยนต์อุตสาหกรรมที่มองเห็นได้กว้าง (Wide-Visible Mast) ซึ่งมีกระบอกสูบยกที่ถูกติดตั้งด้านหลังเสาโครงร่างแคบ ๆ ด้านนอกเป็นแนวตั้งเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการมองเห็นด้านหน้าที่ยอดเยี่ยม
เสายานยนต์อุตสาหกรรมเห็นได้กว้าง: ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น กระบอกสูบยกถูกวางตำแหน่งไปที่ด้านหลังของเสายานยนต์อุตสาหกรรมด้านในและด้านนอก เพื่อไม่ให้มีสิ่งกีดขวางต่อการมองเห็นจุดศูนย์กลางของเสา ยิ่งไปกว่านั้น การใช้วัสดุที่ไม่หนาสำหรับเสาด้านในและด้านนอกยังหมายถึงช่องว่างที่กว้างกว่าระหว่างเสาทั้งสองด้าน ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานมองไปยังด้านหน้าของยานยนต์อุตสาหกรรมโดยแทบจะไม่มีสิ่งกีดขวาง
พึงระลึกว่าเสายานยนต์อุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ อย่างเช่นเสา FV และ FSV ซึ่งจะถูกอธิบายต่อไปมีกระบอกสูบยกเดี่ยวที่จุดกึ่งกลางของเสา อย่างไรก็ตาม กระบอกสูบนี้อยู่ในตำแหน่งต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อลดการแทรกแซงการมองเห็นด้านหน้าให้มีน้อยที่สุด
ระยะยกอิสระ
ฟังก์ชั่นสำคัญอย่างหนึ่งของเสายานยนต์อุตสาหกรรม มีชื่อว่าระยะยกอิสระ ระยะยกอิสระคือระยะห่าง (วัดจากพื้นดินถึงพื้นผิวส่วนบนของงายก) ที่งายกสามารถยกได้ก่อนที่เสายกด้านในหรือที่กั้นของตก ฯลฯ จะอยู่เหนือระดับความสูงที่ต่ำกว่าของเสายกด้านนอก ตัวอย่างเช่น หากคุณลำเลียงของบรรทุกโดยใช้เสายกที่มีระยะยกอิสระที่ใหญ่ภายในยานยนต์อุตสาหกรรม คุณสามารถยกของที่บรรทุกได้โดยไม่จำเป็นต้องเลื่อนเสายกภายในขึ้นจนเสาแตะเพดานรถ เป็นต้น
เสายกที่มองเห็นได้กว้าง (V)
เสายกที่มองเห็นได้กว้างประกอบไปด้วย เสายกภายในหนึ่งอันและเสายกภายนอกหนึ่งอัน มีระยะยกอิสระประมาณ 100 ถึง 150 มม. ดังนั้นโดยปรกติแล้วเสายกภายในจะสูงกว่าความสูงของงายกเมื่อถูกยกขึ้น นี่หมายความว่าเสาลักษณะนี้ไม่ใช่ตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับพื้นที่ที่จำกำความสูง อย่างเช่น ภายในตู้คอนเทนเนอร์ มีรูปแบบที่ไม่ซับซ้อนและซื้อหาได้ในราคาที่ต่ำ
เสายกที่มองเห็นได้กว้าง (SV)
เสายกนี้มีโครงสร้างพื้นฐานคล้ายคลึงกับเสา V ที่ได้แสดงให้เห็นแล้วด้านบน แต่เสานี้ให้จำนวนระยะยกอิสระที่มากกว่า เสายกนี้อาจเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด เมื่อระยะยกอิสระเป็นสิ่งที่คุณต้องการ หากแต่การมองเห็นค่อนข้างจำกัดโดยคานที่รวมกันของกระบอกสูบ
เสาสองขั้นระยะยกอิสระสูงสุด (FV)
กระบอกสูบไฮดรอลิก ถูกเพิ่มเข้ามาที่ส่วนกลางของเสายก เพื่อการใช้งานฟังก์ชั่นการยกอิสระสูงสุด เนื่องจากงายกจะเลื่อนตามความยาวสูงสุดของเสาด้านในก่อนที่จะยื่นออกได้ เสาชนิดนี้จึงเหมาะสมที่สุดเพื่อการใช้ในพื้นที่ที่มีความจำกัดของหลังคา อย่างเช่นบนรถบรรทุกหรือทางเข้าโกดังเก็บสินค้า
เสาสามขั้นระยะยกอิสระสูงสุด (FSV)
เสายกชนิดนี้มีระดับการยก 3 ระดับ หรือ 3 ขั้น ทั้งยังมีระยะยกอิสระสูงสุด ซึ่งหมายความว่างายกสามารถไปที่จุดสูงสุดของเสาด้านในก่อนที่จะเริ่มยื่น และดำเนินกระบวนการนี้กับเสายกกลางด้วย
เสายกชนิดนี้ให้ความสูงของการยืดหดต่ำที่สุด และให้ความสูงการยกที่สูงที่สุด นั่นคือเหตุผลว่าทำไมจึงพบเสาชนิดนี้ถูกใช้งานในโกดังเก็บสินค้า หรือสถานที่ใช้งานที่มีทางเข้าต่ำแต่มีบริเวณเก็บของภายในที่สูง
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบไฮดรอลิก
Posted by Contemporary industry
Posted on 10:29
ระบบไฮดรอลิก
ดังที่สามารถเห็นได้ในภาพประกอบระบบไฮดรอลิก ประกอบไปด้วยส่วนประกอบมากมายแต่การทำงานของระบบนี้กลับค่อนข้างเรียบง่าย เครื่องสูบน้ำมันจะสร้างแรงดันน้ำมัน และจ่ายน้ำมันแรงดันไปยังวาล์วควบคุมน้ำมันซึ่งจะส่งน้ำมันไปยังที่ที่ต้องการ อย่างเช่น ที่กระบอกสูบยกหรือกระบอกสูบเอียง วาล์วแบ่งการไหลที่อยู่ก่อนวาล์วควบคุมน้ำมันนั้น ช่วยทำให้มั่นใจได้ว่าระบบเบรก และพวงมาลัยพาวเวอร์ จะมีแรงดันไฮดรอลิกอย่างสม่ำ
เสมอ เมื่อใช้ความดันไฮดรอลิกแล้ว น้ำมันไฮดรอลิกจะกลับไปยังถังน้ำมันไฮดรอลิกอันเป็นส่วนที่น้ำมันถูกเก็บเพื่อถูกนำกลับมาใช้อีก เครื่องควบคุมการไหลอัตโนมัติและวาล์วกันย้อน เพื่อความปลอดภัยถูกเพิ่มเข้ามาเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้รถยก
ข้อควรจำ : สำหรับในรุ่นที่มีระบบเบรกด้วยการอัดอากาศ จะใช้ความดันอากาศให้การเบรกแทนการใช้แรงดันไฮดรอลิก
วาล์วควบคุมน้ำมัน
ภายในวาล์วควบคุมน้ำมันคือ ตัวลูกสูบวาล์ว วาล์วเหล่านี้เคลื่อนไปอยู่แนวเดียวกับรูต่าง ๆ ของตัววาล์วเพื่อสร้างเส้นทางให้น้ำมันแรงดันสามารถผ่านไปได้ มันคือเส้นทางน้ำมันแรงดันที่ควบคุมว่าจะให้ส่วนประกอบ
ไฮดรอลิกต่าง ๆ ทำอะไร เส้นทางหนึ่งอาจทำให้กระบอกสูบยกยื่นออก และยกงายกในขณะที่อีกเส้นทางหนึ่งอาจทำให้กระบอกสูบควบคุมการเอียงเอนไปด้านหลัง
ยานยนต์อุตสาหกรรมเกือบทุกรุ่นใช้ตัวแบ่งการไหลในวาล์วควบคุมน้ำมัน อุปกรณ์นี้ทำให้มั่นใจได้ว่าระบบพวงมาลัยพาวเวอร์ และระบบเบรกจะมีแรงดันไฮดรอลิกอย่างสม่ำเสมอ
เครื่องควบคุมการไหลอัตโนมัติและวาล์วกันย้อนที่ปลอดภัย
ยานยนต์อุตสาหกรรมได้เพิ่มวาล์วทั้งสองตัวนี้เข้ามา เพื่อพัฒนาการทำงานอย่างปลอดภัยของยานยนต์อุตสาหกรรม เครื่องควบคุมการไหลอัตโนมัติควบคุมการไหลของน้ำมันไฮดรอลิก เมื่องายกที่บรรทุกของลดระดับต่ำลงเพื่อให้ของบรรทุกหนัก ๆ เลื่อนลงด้วยความเร็วระดับเดียวกันกับของบรรทุกเบาๆ วาล์วกันย้อนที่ปลอดภัยจะทำให้กระแสน้ำมันจากกระบอก
สูบยกไหลช้าลงอย่างรวดเร็วโดยอัตโนมัติ และป้องกันความเร็วที่ลดลงของงายก เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันเช่นระบบไฮดรอลิกล้มเหลวเป็นต้น อันจะเป็นการป้องการไม่ให้สิ่งของตกลงมาอย่างทันที
ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีระบบล๊อกการยกอัตโนมัติ และวาล์วกันการรั่วซึม “ระบบรักษาเสถียรภาพขณะขับเคลื่อน”
ตัวกรองสำหรับระบบไฮดรอลิกของยานยนต์อุตสาหกรรม
เหตุผลหนึ่งสำหรับความน่าชื่อถืออันโดดเด่นก็คือ การใส่ใจทุกรายละเอียด ส่วนประกอบหนึ่งที่ดูเหมือนไม่มีความสำคัญอันเป็นตัวการหลักที่ทำให้การทำงานปราศจากปัญหาก็คือ ตัวกรองสำหรับระบบไฮดรอลิก โตโยต้าใช้ตัวกรองที่มีตาข่ายละเอียดมาก (ในหน่วยไมครอน) เพื่อขจัดละอองตกค้างเล็กๆ จากสารไฮดรอลิก หากละอองเหล่านี้ ซึ่งเข้าสู่ระบบจากด้านนอก และก่อตัวขึ้นในขณะที่วงแหวนอัดลูกสูบ และส่วนประกอบอื่น ๆ กำลังชำรุดลง ถูกปล่อยให้คงอยู่ก็จะทำให้ละอองเหล่านี้กระจายตัวอยู่ในระบบ และก่อให้เกิดความเสียหาย และการรั่วไหลได้
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)