ยานยนต์อุตสาหกรรม | การเปรียบเทียบความถ่วงดุลระหว่างยานยนต์อุตสาหกรรมและReach Truck
Posted by Contemporary industry
Posted on 05:12
การเปรียบเทียบความถ่วงดุลระหว่างยานยนต์อุตสาหกรรมและReach Truck
ส่วนประกอบพื้นฐาน
ดังที่ชื่อได้แสดงนัยยะ น้ำหนักที่ถ่วงดุลถูกใช้สำหรับยานยนต์อุตสาหกรรมที่ถ่วงดุลเพื่อชดเชยน้ำหนักของที่ถูกลำเลียงบนฟอร์กบริเวณ จุดที่สัมผัสพื้นของล้อด้านหน้า เนื่องจากแบตเตอรี่ค่อนข้างหนัก จึงสามารถใช้เป็นน้ำหนักถ่วงดุลเพื่อที่ได้ลดน้ำหนักของรถฟอร์คลิฟท์ปัจจุบันได้ ยานยนต์อุตสาหกรรมประเภทนี้ใช้มอเตอร์ที่แยกออกจากกันสำหรับระบบการขับเคลื่อนและระบบการลำเลียงของ โครงร่างพื้นฐานของรถถูกแสดงในภาพตัวอย่าง ความหลากหลายภายในรถยกชนิดถ่วงดุลรวมถึงการใช้ชนิดยางที่แตกต่างกันและระบบขับเคลื่อน 3 ล้อ
ระบบขับเคลื่อน
ระบบลำเลียงของโหลด
ข้างบนคือรูปวาดคร่าวๆ ของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าซึ่งไม่ได้แสดงรถยกรุ่นใดรุ่นหนึ่งเฉพาะ
ยานยนต์อุตสาหกรรม Reach truck มีเสาที่สามารถยื่นออกมาและสามารถหดได้ตามขาเลื่อน ซึ่งหมายความว่าสามารถใช้หยิบของโดยการยื่นหรือหดได้เพื่อกว่า ประโยชน์จากการออกแบบนี้รวมไปถึงความมั่นคงในแนวตั้งที่เพิ่มขึ้นและรัศมีการเลี้ยวที่แคบกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมแบบถ่วงดุล
ระบบขับเคลื่อน
การลำเลียงที่ง่าย
ระบบลำเลียงของโหลด
คุณลักษณะของ Reach Truck
ความกะทัดรัด
ตามที่แสดงในรูปภาพทางด้านขวา ยานยนต์อุตสาหกรรม Reach truck โดยรวมนั้นมีความกะทัดรัดมากกว่า และทำไม Reach truck ถึงมีขนาดที่เล็กกว่าและวางซ้อนบนชั้นที่อยู่สูงกว่าได้ คำถามนั้นถูกตอบได้โดยโครงสร้างภายนอกอันเป็นเอกลักษณ์ของรถ Reach truck รถ reach truck มีขาที่ยื่นได้ 2 ขาพร้อมเสาที่สามารถยืดหดได้อยู่ระหว่างขาทั้งสองเสานั้นสามารถขยายไปด้านหน้าได้เท่านั้น (หรือยื่น) เมื่อจับของที่จะบรรทุก การออกแบบที่สร้างประวัติศาสตร์นี้ที่สามารถดึงของที่บรรทุกกลับมาได้เพื่อที่ว่าศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงของๆ ที่บรรทุก จะอยู่บนฐานล้อของรถ Reach truck ซึ่งได้การออกแบบที่กะทัดรัดกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมแบบถ่วงดุลและให้ความมั่นคงเมื่อต้องวางซ้อนในที่สูงๆ ด้วย ยิ่งไปกว่านั้นการเลี้ยวที่แคบกว่าอันเกิดจากขนาดที่กะทัดรัดทำให้สามารถวางโครงชั้น ได้ใกล้กว่าและสูงกว่าเพื่อการใช้งานพื้นที่โกดังสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพการทำงานแนวตั้ง
เมื่องาของรถ Reach truck ถูกดึงกลับเข้ามา ศูนย์กลางการบรรทุกจะอยู่ด้านหลังเพลาหน้า ซึ่งทำให้เพิ่มความมั่นคงในแนวดิ่ง ไม่เพียงแต่จะช่วยลดความจำเป็นของการถ่วงน้ำหนัก ยังช่วยให้ความมั่นคงเพื่อสมรรถนะในการบรรทุกที่โดดเด่นในความสูงของเสาที่สูง ซึ่งยังหมายความว่ามีความสูงของเสาระดับต่างๆ ให้เลือกสรร อีกนัยหนึ่งก็คือ ยานยนต์อุตสาหกรรม reach truck ให้ประสิทธิภาพการลำเลียงของบรรทุกในแนวดิ่งที่เหนือกว่า
ประสิทธิภาพการทำงานแนวระนาบ
แล้วประสิทธิภาพการลำเลียงของบรรทุกแนวระนาบของยานยนต์อุตสาหกรรม Reach truck เป็นอย่างไร เนื่องจากล้อหน้าของรถ reach truck นั้นมีขนาดเล็กกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรถฟอร์คลิฟท์แบบถ่วงดุล ยานยนต์อุตสาหกรรม Reach truck จึงไม่มีประสิทธิภาพการลำเลียงของบรรทุกแนวระนาบที่ดีที่สุด (ประสิทธิภาพการเคลื่อนที่) อย่างไรก็ตามก็สามารถเคลื่อนที่ได้และมีความเร็วเพียงพอที่จำเป็นแก่การใช้งานในโกดังเก็บสินค้า
การใช้งาน
ดูข้อดีต่างๆ ของรถ Reach truck โดยการเปรียบเทียบกับรถยกแบบน้ำหนักถ่วงดุล
(1) ขนาดตัวรถที่กะทัดรัด
(2) สมรรถนะการวางซ้อนได้สูงกว่าการเปรียบเทียบเรื่องการใช้งานของยานยนต์อุตสาหกรรมสามชนิดหลัก
มีรถยกรุ่นที่แตกต่างกันจำนวนมากเพื่อให้เข้ากับความต้องการในการใช้งาน แผนภาพต่อไปนี้แสดงคุณลักษณะของยานยนต์อุตสาหกรรมแต่ละประเภท
A. ความมั่นคงในการเคลื่อนที่
B. รุ่นต่างๆ ที่มีความจุที่มาก
C. ให้การบรรทุกที่รวดเร็ว
D. สามารถรองรับวัสดุปริมาณมากๆ ได้ในเวลาสั้นๆ
E. สามารถยกของบรรทุกหนักๆ ได้ที่ความสูงมากๆ
F. มีเสาที่มีความสูงมาก
G. ให้การใช้งานพื้นที่ของโกดังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
H. ความสูงโดยรวมน้อย
I. รัศมีการเลี้ยวเล็ก
J. ความสามารถรอบตัวสูง (สามารถทำงานได้เหมือนทั้งรถยก 4 ล้อและรถ reach truck)
K. ค่าใช่จ่ายแรกเริ่มต่ำ
L. ระยะเวลาการทำงานที่นาน
M. ขนาดเล็ก
N. ง่ายต่อการขึ้นลง (สำหรับการทำงานที่ผู้ปฏิบัติงานต้องขึ้นลงรถบ่อยครั้ง)
O. ความเร็วสูง
P. ดีสำหรับเคลื่อนที่บนพื้นผิวขรุขระ
Q. สมรรถนะการเคลื่อนที่สูง
R. ความสามารถในการควบคุมดี
S. เสียงเบา
T. สั่นสะเทือนน้อย
U. ไม่มีควันจากท่อไอเสีย
F*: เฉพาะรถชนิดนั่งควบคุมเท่านั้น
N*: เฉพาะรถชนิดยืนควบคุมเท่านั้น
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
ยานยนต์อุตสาหกรรม | ปัจจัยต่างๆที่ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
Posted by Contemporary industry
Posted on 08:07
ปัจจัยต่างๆ ที่ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายแรกเริ่ม
โดยทั่วไปแล้ว ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้ามีค่าใช้จ่ายแรกเริ่มที่สูงกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ที่มีสมรรถนะเท่าๆ กันแต่ก็เป็นแค่ครั้งเดียวที่ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าจะมีราคาสูงกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ พูดโดยรวมก็คือ เมื่อเวลาผ่านไปความประหยัดค่าการดำเนินการและค่าดูแลรักษาจะสูงกว่าค่าใช้จ่ายแรกเริ่ม แม้เมื่อรวมค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนแบตเตอรี่แล้วก็ตาม
ค่าใช้จ่ายในการทำงาน
ในกรณีส่วนใหญ่ ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้ามีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานน้อยกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ดีเซล, แก๊ส LTP, หรือแก๊สโซลีน เมื่อคำนวณค่าใช้จ่ายของพลังงานต่อชั่วโมงการทำงาน ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้านั้นประหยัดที่สุด
ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา
ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้านั้นประหยัดในการบำรุงรักษามากกว่าเนื่องจากส่วนที่ใช้แล้วหมดไปน้อยกว่า อย่างเช่น น้ำมันเครื่อง หัวเทียนและแผ่นคลัตช์
การประหยัดที่คาดเดาได้
เมื่อยึดตามอายุการใช้งานปรกติของยานยนต์อุตสาหกรรม ยิ่งใช้งานรถฟอร์คลิฟท์ไฟฟ้ามากเท่าใด เจ้าของก็จะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งหมดได้มากขึ้นเท่านั้น แม้ว่าจะต้องใช้เวลากว่ายานยนต์อุตสาหกรรมนั้นประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานและการดูแลรักษามากกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์จะชดเชยค่าใช้จ่ายแรกที่สูงกว่าได้
ระบบแก๊ส LPG
ด้วยระบบนี้ เครื่องยนต์ทำงานด้วยแก๊สปิโตรเลียมเหลว หรือแก๊ส LPG แทนการทำงานด้วยแก๊สโซลีน แก๊ส LPG ปล่อยไอเสียออกมาน้อยกว่า โดยเฉพาะควันดำเมื่อเปรียบเทียบกับรถในรุ่นที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล ดังนั้นจึงมักใช้ภายในอาคาร
- ชนิดปรับเปลี่ยนได้
สามารถเปลี่ยนให้ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้แก๊สโซลีนหรือแก๊ส LPG ขับเคลื่อนได้อย่างง่ายดาย
- ชนิดเฉพาะ
ยานยนต์อุตสาหกรรมสามารถใช้แก๊ส LPG ได้เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ชนิดเฉพาะนี้จะทำให้เครื่องยนต์แสดง ประสิทธิภาพกำลัง และแรงบิดได้ดีกว่าชนิดปรับเปลี่ยนได้
ยานยนต์อุตสาหกรรม | ข้อจำกัดต่างๆในการทำงานของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้า
Posted by Contemporary industry
Posted on 05:08
ข้อจำกัดต่างๆ ในการทำงานของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้า
ระยะเวลาในการทำงาน
ระยะเวลาในการทำงานเป็นความกังวลหนึ่งของลูกค้าที่จะซื้อยานยนต์อุตสาหกรรม ลูกค้ารู้ดีว่าการชาร์จแบตเตอรี่ยานยนต์อุตสาหกรรมนั้นใช้เวลานานกว่าเติมเชื้อเพลิงให้ยานยนต์อุตสาหกรรเครื่องยนต์มาก ดังนั้นเขาจึงต้องการทราบว่าการชาร์จเพียงหนึ่งครั้งนั้น เพียงพอต่อการทำงานให้เสร็จในหนึ่งวันหรือไม่ อย่างไรก็ตาม เป็นการยากที่จะคำนวณระยะเวลาการทำงานต่อการชาร์จแต่ละครั้ง ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยแวดล้อมในการใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมจะส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงานยกตัวอย่างเช่น ยานยนต์อุตสาหกรรมที่เดินทางเป็นระยะสั้นๆ โดยส่วนใหญ่จะใช้พลังงานในการสตาร์ทและเร่งเครื่องมากกว่ายานยนต์อุตสาหกรรมที่เดิทางเป็นระยะไกลๆ แบตเตอรี่ที่ถูกชาร์จจะอยู่ได้ไม่นานในยานยนต์อุตสาหกรรมที่เดินทางเป็นระยะสั้นๆวิธีหนึ่งที่ใช้ประมาณระยะเวลาการทำงานคือการอิงจากสภาวะต่างๆ ที่ถูกใช้ในการทดสอบรอบการทำงานระยะ 30 เมตร ของยานยนต์อุตสาหกรรม การทดสอบรอบระยะ 30 เมตรของยานยนต์อุตสาหกรรมนี้ให้ปัจจัยแวดล้อมที่หนักหน่วงกว่าที่ยานยนต์อุตสาหกรรมจะเจอในภาวะแวดล้อมจริงๆ สำหรับการอ้างอิงโดยทั่วๆ ไป การใช้พลังงานภายใต้ภาวะแวดล้อมจริงจะอยู่ที่ 40 ถึง 60% ของผลที่ได้จากการทดสอบรอบการทำงานระยะ 30 เมตร ของยานยนต์อุตสาหกรรม ดังนั้นระยะเวลาการทำงานจริงต่อการชาร์จหนึ่งครั้งจะนานกว่าข้อมูลที่ถูกแสดงในการทดสอบรอบการทำงานของยานยนต์อุตสาหกรรมเป็น 2 เท่า
การไปสำรวยสถานที่ใช้งาน
วิธีการที่ดีที่สุดอาจจะคือการไปสำรวจสถานใช้งานของลูกค้า ควรบันทึกเกี่ยวกับพื้นผิวทาง ความเรียบของทางลาดต่างๆ ระยะห่างของการเดินทางและขนาดและน้ำหนักของสิ่งที่โหลด ควรบันทึกด้วยว่ายานยนต์อุตสาหกรรมถูกใช้บ่อยหรือไม่หรือ ถูกปล่อยทิ้งไว้ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งระหว่างวันหรือไม่ ใช้ข้อมูลเปล่านี้ในการประเมินความจุแบตเตอรี่ที่ต้องการ
เลือกแบตเตอรี่ความจุสูงหรือแบตเตอรี่สองอัน
มีข้อดีหลายอย่างจากการเลือกแบตเตอรี่ความจุสูงที่สุดที่ลูกค้าสามารถครอบครองได้ แบตเตอรี่ที่เต็มในระดับ 75% อาจมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า อาจมีบางครั้งที่รถฟอร์คลิฟท์จำเป็นต้องทำงาน “พิเศษ” ซึ่งไม่ถูกรวมอยู่ในการประเมินดั้งเดิม จึงเป็นการดีกว่าในการมีแบตเตอรี่สำรองเตรียมไว้ ยิ่งไปกว่านั้น หลายๆ บริษัทที่ใช้รถฟอร์คลิฟท์ในช่วงเวลาที่ยาวนานขึ้น มักจะมีแบตเตอรี่ความจุน้อยกว่าจำนวน 2 อันมากกว่าจะมีแบตเตอรี่ความจุสูงเพียงอันเดียว มีการใช้ที่ชาร์จนอกตัวรถเพื่อชาร์จแบตเตอรี่อันหนึ่งในขณะที่ใช้แบตเตอรี่อีกอันได้
เครื่องวัดชั่วโมงของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้า
หากต้องใช้รถยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าแทนรถยานยนต์อุตสาหกรรมพลังเครื่องยนต์ ตรวจดูประสิทธิภาพการทำงานโดยเฉลี่ยในสถานที่ใช้งานและตรวจสอบเครื่องวัดชั่วโมงบนยานยนต์อุตสาหกรรมพลังเครื่องยนต์ปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยคุณประเมินความจุแบตเตอรี่ที่ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าต้องการ
การทดสอบรอบการทำงานระยะ 30 เมตร ของยานยนต์อุตสาหกรรม
1. โหลดของที่จุด (A) และไปยังจุด (B) โดยเคลื่อนรถไปในทิศทางด้านหน้า
2. ที่จุด (B) ยกของที่โหลดจนถึงความสูง สูงสุดของตัวงาและลดระดับกลับมายังตำแหน่งเคลื่อนรถ
3. หมุนยานยนต์อุตสาหกรรมกลับและเคลื่อนรถจากจุด (B) ไปยังจุด (A) ในทิศทางด้านหน้า
4. ที่จุด (A) ปล่อยของที่โหลดลง หมุนยานยนต์อุตสาหกรรมกลับและเคลื่อนจากจุด (A) ไปยัง (B) ในทิศทางด้านหน้าโดยไม่บรรทุกของ
5. ที่จุด (B) ยกงาไปที่ความสูงสูงสุดและลดระดับกลับมายังตำแหน่งเคลื่อนรถ
6. หมุนยานยนต์อุตสาหกรรมกลับและเคลื่อนรถจากจุด (B) ไปยังจุด (A) ในทิศทางด้านหน้าโดยไม่บรรทุกของ
ขั้นตอนข้างบนถือเป็นหนึ่งรอบ
ปัจจัยการทำงานต่างๆ
a) โหลด: โหลดของ 70% ของความจุของยานยนต์อุตสาหกรรม
b) ความเร็วขับเคลื่อน: ความเร็วสูงสุด
c) การลำเลียง: เท่ากับความสูงสูงสุดของงา (3,000 มม. หรือ 3,300 มม.)
d) ห้ามปล่อยเวลาทิ้ง เช่น หยุดพัก
การทำงานต่อเนื่อง
การทำงานอย่างต่อเนื่องทำให้ใช้พลังงานแบตเตอรี่หมดอย่างรวดเร็วกว่าเดิม แม้ว่าจะหยุดพักเป็นช่วงสั้นๆ จะทำให้ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าทำงานได้นานกว่าต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง ยิ่งไปกว่านั้น ความเร็วขับเคลื่อนของยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้านั้นค่อนข้างจะช้ากว่ายานยนต์อุตสาหกรรมพลังเครื่องยนต์ เลือกใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าหากการทำงานนั้นหยุดเป็นช่วงๆ โดยส่วนใหญ่และระยะเวลาการทำงานที่ติดต่อกันนั้นสั้น
พื้นผิวต่างๆ ที่ใช้ขับเคลื่อน
ยานยนต์อุตสาหกรรมทำงานได้ดีที่สุดบนพื้นผิวที่ราบเรียบ การทำงานบนพื้นผิวที่ขรุขระจะทำให้พลังงานในแบตเตอรี่ถูกใช้หมดอย่างรวดเร็วกว่าเดิม ยิ่งไปกว่านั้น ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าบางประเภท อย่างเช่น reach truck และรถยกขับเคลื่อน 3 ล้อ ยังมีล้อหลังเพียงแค่ล้อเดียว ซึ่งทำให้ยากต่อการควบคุมบนพื้นผิวหน้าที่ขรุขระ
สมรรถนะบนทางลาดชัน
ในขณะที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้พัฒนาสมรรถนะบนทางลาดชันให้แก่ยานยนต์อุตสาหกรรมจนถึงจุดที่สามารถเปรียบเทียบได้กับสมรรถนะของยานยนต์อุตสาหกรรมพลังเครื่องยนต์ ก็ยังมีข้อจำกัดบางประการอยู่และสมรรถนะบนทางลาดชันก็ยังคงถือเป็นข้อด้อยข้อหนึ่งอยู่
ข้อควรจำ:
สมรรถนะบนทางลาดชันของยานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์นั้นถูกตัดสินหลักๆ โดยการให้ยานยนต์อุตสาหกรรมไต่ทางลาดจนถึงจุดที่ล้อหมุนได้ เนื่องจากการทดสอบที่เหมือนกันทุกประการอาจก่อให้เกิดความร้อนมากเกินไปต่อยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าได้ ปริมาณความลาดชันจึงถูกควบคุมด้วยผู้ควบคุม เพื่อเป็นแนวทาง ช่วงปรกติของการทำงานควรอยู่ที่ 8? สำหรับรถฟอร์คลิฟท์ที่ถ่วงดุลและ 4? สำหรับยานยนต์อุตสาหกรรม Reach truck
การกันน้ำและความชื้น
ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าสามารถทำงานในสายฝนได้เหมือนกับยานยนต์อุตสาหกรรมพลังเครื่องยนต์ อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีความจำเป็นในการหลีกเลี่ยงใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าในขณะที่ฝนตกหนักเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน หรือจอดยานยนต์อุตสาหกรรมท่ามกลางสายฝน ควรจำไว้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้าไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้ท่ามกลางสายฝนที่ตกหนัก
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
ยานยนต์อุตสาหกรรม | รัศมีการเลี้ยว
Posted by Contemporary industry
Posted on 08:02
การเลี้ยวแบบประชิด
เนื่องจากยานยนต์อุตสาหกรรมไฟฟ้ามีขนาดที่เล็กกว่า จึงทำให้สามารถเคลื่อนที่ได้ง่ายกว่า ความสามารถในการเคลื่อนที่นั้นมีความหมายค่อนข้างกว้าง แต่เมื่อเกี่ยวข้องกับข้อมูลจำเพาะของยานยนต์อุตสาหกรรมแล้วนั้น คำอธิบายที่เข้าใจได้มากที่สุดก็คือรัศมีการเลี้ยว ความกว้างของทางที่ตัดกันและความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้อง
รัศมีการเลี้ยว (ด้านนอก)
ภาพนี้คือภาพ “วงกลม” ในจินตนาการที่วาดโดยที่จุดนอกสุดของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อองศาการหมุนสูงสุดของล้อทำงานที่ความเร็วขับเคลื่อนต่ำสุด
ข้อควรจำ: รัศมีการหมุนภายในนี้เป็นวงกลมที่สร้างขึ้นโดยล้อขับเคลื่อนด้านหน้าภายใต้ปัจจัยแวดล้อมที่แสดงด้านบน
ความกว้างของทางที่ตัดกัน
นี่คือความกว้างต่ำสุดของทางที่ตัดกันที่มุมที่เหมาะสมกับอีกทางหนึ่งซึ่งยานยนต์อุตสาหกรรมต้องทำการเลี้ยวไปในทิศทางใดก็ทิศทางหนึ่ง ทางนี้ได้รับการวัดโดยใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมที่ไม่ได้บรรทุกของ
ความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้อง
ความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้องคือความกว้างทางต่ำสุดที่ยานยนต์อุตสาหกรรมซึ่งบรรทุกของโหลดจำนวนหนึ่งสามารถเลี้ยวที่ 90 องศาได้
ข้อควรจำ:
ยานยนต์อุตสาหกรรมขับเคลื่อนสามล้อและยานยนต์อุตสาหกรรม Reach trucks มีจุดเลี้ยวกึ่งกลางระหว่างแกนล้อหน้า ซึ่งอาจทำให้มีรัศมีการเลี้ยวที่แคบกว่าได้
วิธีคำนวณความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้อง
วิธีการคำนวณนั้นแตกต่างกันไปตามชนิดของยานยนต์อุตสาหกรรม:ยานยนต์อุตสาหกรรมขับเคลื่อน 4 ล้อ, ยานยนต์อุตสาหกรรมขับเคลื่อน 3 ล้อ, และ Reach truck ยิ่งไปกว่านั้น วิธีการที่ใช้คำนวณยังแยกไปตามผู้ผลิตด้วย ดังนั้นไม่ควรใช้ค่าความกว้างช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้องโดยผู้ผลิตรายอื่นๆ ในการเปรียบเทียบควรคำนวณโดยให้วิธีการของยานยนต์อุตสาหกรรมเสมอเพื่อการเปรียบเทียบที่ถูกต้อง
A = ความยาวของการโหลดหรือพาเลท
W = ความกว้างของการโหลดหรือพาเลท
C = พื้นที่ว่าง (พื้นที่ว่างมาตรฐานเท่ากับ 200 มม.)
D = ระยะห่างจากงา ด้านหน้ารถยกไปยังกึ่งกลาง
ของแกนล้อด้านหน้า
R = รัศมีการเลี้ยวด้านนอก
L = ความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้อง
I = ความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้องขั้นพื้นฐาน
Y = ระยะห่างจากเส้นกลางของยานพาหนะไปยังจุดกึ่งกลางของจุดเลี้ยว
มีสูตร 2 สูตรเพื่อใช้คำนวณความกว้างของช่องทางการวางซ้อนในองศาที่ถูกต้อง สูตรการคำนวณแรก หรือ สูตร 1 เป็นสูตรธรรมดา
ที่ใช้คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานเท่านั้น ส่วนอีกสูตรการคำนวณ หรือสูตร 2 นั้นมีพื้นฐานจากมาตรฐานอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น หรือ
Japan Industrial Standard (JIS) ซึ่งได้รวมเอาสูตรที่ซับซ้อนอย่าง การถอดราก มาใช้
<สำหรับยานยนต์อุตสาหกรรมขับเคลื่อน 4 ล้อ>
เมื่อความกว้างของการโหลด (W) เท่ากับหรือน้อยกว่า 2Y
L=I+A+C=R+D+A+C
เมื่อความกว้างของการโหลด (W) มากกว่า 2Y
<สำหรับ Reach Trucks>
สูตร 1: L= (A-D) + R+ C
<สำหรับยานยนต์อุตสาหกรรมขับเคลื่อน 3 ล้อ>
สูตร 1: L=R+D+A+C
ป้ายกำกับ:
ยานยนต์ อุตสาหกรรม,
รถยก,
รถยกอุตสาหกรรม,
อุตสาหกรรมรถยก
หมวดหมู่ยานยนต์
- 014 Chevrolet Silverado HD (1)
- 10 เคล็ดลับขับปลอดภัยเมื่อน้ำท่วม (1)
- 2014 Volvo S80 (1)
- 2015 Lincoln MKC crossover (1)
- 2015 Volvo S60 T6 (1)
- 2015 Volvo V40 (1)
- 2016 Chevrolet (1)
- 2016Chevrolet Colorado (1)
- 2016 Toyota Fortuner (1)
- 2018 Mazda CX-5 (1)
- 2018 Toyota Rush (2)
- 2 Stroke Engine (1)
- 5 ประตู (6)
- กระบวนการผลิต (19)
- กระบอกสูบ (1)
- กราฟกำลัง (1)
- กราฟแรงบิด (1)
- ก้านสูบ (1)
- การขับรถอย่างปลอดภัย (1)
- การใช้ไฟอย่างถูกต้อง เมื่อฝนตกหนัก (1)
- การดูแลรักษารถด้วยตนเอง (2)
- การเติมลม (1)
- การเติมลม กับ ล้อแม็กซ์ (1)
- การถ่วงล้อ (1)
- การบำรุงรักษา (4)
- การบำรุงรักษาและตรวจเช็คประจำวันรถยนต์คู่ใจ ควรทำอย่างไร (1)
- การปลี่ยนขนาด ยางรถยนต์ (1)
- การเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลของเครื่องยนต์ (1)
- การเผาไหม้ (11)
- การเผ่าไหม้ (1)
- การวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ (1)
- การหยุดรถ และการจอดรถ (1)
- การออกแบบ (10)
- แก๊สโซลีน (3)
- ข้อควรปฏิบัติทั่วไป ในการใช้รถยนต์ (1)
- ข้อควรปฏิบัติ เมื่อการขับขี่ในพื้นที่ลักษณะต่างๆ (1)
- ขับเคลื่อน (13)
- ขับอย่างไรเพื่อยืดอายุยาง (1)
- ข่าวยานยนต์ (4)
- ควรจะทำอย่างไรเมื่อยางรถระเบิดขณะขับรถอยู่ (1)
- คว้านเสื้อสูบ (2)
- ความรู้ (3)
- คอมมอนเรล (1)
- คอยล์จุดระเบิด (8)
- คำศัพท์น่ารู้ (1)
- เครื่องมือ (1)
- เครื่องยนต์ (64)
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (1)
- เครื่องยนต์คอมมอนเรล (1)
- เครื่องยนต์ดีเซล (3)
- เครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ลิตร (1)
- เครื่องยนต์ดีเซลตระกูล GD รุ่นใหม่ (1)
- เครื่องยนต์เบนซิน (1)
- เครื่องยนต์แบบโรตารี่ (1)
- เครื่องยนต์ร้อนแล้วดับ สตาร์ทติดยาก เกิดจากสาเหตุใด และแก้ไขอย่างไร (1)
- เครื่องยนต์เล็ก (2)
- เครื่องยนต์สตาร์ทติดยากตอนอากาศชื้นเกิดจากอะไร ? (1)
- เครื่องยนต์สันดาปภายใน (3)
- เครื่องยนต์หัวฉีด (1)
- เครื่องยนต์ EFI (2)
- เครื่องยนต์V8 (1)
- เคล็ดลับ (2)
- จอดรถให้ปลอดภัย (1)
- จักรยานยนต์ (1)
- จังหวะการฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ EFI (1)
- ชิ้นส่วนยานยนต์ (1)
- ชื่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ภาษาไทย และอังกฤษพร้อมรูป คลิปวีดีโอ (1)
- เชฟโรเลต (1)
- เชฟโรเลต โคโลราโด 2015 (1)
- โช๊คอัพ (5)
- ซ่อม (21)
- ซ่อมเครื่องยนต์ (7)
- ซ่อมบำรุง (6)
- ซุปเปอร์คาร์ (3)
- ซูซุูกิ (2)
- ซูซูกิ ไฮบริด (1)
- โซลินอย (1)
- ดัดแปลง (3)
- ไดชาร์จ (2)
- ไดร์สตาร์ท (10)
- ไดสตาร์ท (12)
- ตรวจสอบเครื่องยนต์ (1)
- ตลับลูกปืน (2)
- ตัวอักษรบนยาง บอกอะไร? (1)
- ตีปลอก (1)
- โตโยต้า (21)
- โตโยต้า 2015 (1)
- ถุงลมนิรภัย (1)
- ที่นั่งเด็ก (5)
- เทคนิคการขับรถป้องกันเชิงอุบัติเหตุ (1)
- เทคนิคการใช้รถและการดูแลรถอย่างง่ายๆ (1)
- เทคโนโลยียานยนต์ (53)
- เทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ (8)
- เทอร์โบ (1)
- เทอร์โบแปรผัน (7)
- น้ำมันเชื้อเพลิง (14)
- น้ำมันดีเซล (6)
- น้ำมันเบนซิน (4)
- นิตยสาร (3)
- นิสสัน (11)
- บำรุงรักษาเครื่องยนต์ (1)
- บีเอ็มดับเบิ้ลยู (1)
- เบรค (22)
- เบาะรถยนต์ (5)
- เบาะสำหรับเด็ก (5)
- แบตเตอรี่ (3)
- แบรนด์รถยนต์ (1)
- แบริ่ง (1)
- ไบโอดีเซล (2)
- ประกอบเครื่องยนต์ (5)
- ประกอบรถยนต์ (13)
- ประดับยนต์ (5)
- ประเภทรถยนต์ (1)
- ปอร์เช่ (2)
- ปัญหารถยนต์ (1)
- ปาเจโร สปอร์ต ใหม่ 2015 (1)
- ปิกอัพ (4)
- ปี2017 (3)
- เปลี่ยนอะไหล่ (3)
- ผลิตรถยนต์ (16)
- แผนภาพจังหวะการเปิดของลิ้น (Valve Timing Diagram) เครื่องยนต์ 4 สูบ และ 6 สูบ (1)
- แผนภาพต้นกำลังงานของรถยนต์ (1)
- ฝาสูบ (4)
- พจนานุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๔๒ (1)
- พูเล่ (1)
- เพลาข้อเหวี่ยง (1)
- เพลาท้าย (2)
- ฟอร์ด (1)
- ฟิล์มกรองแสง ติดดี หรือ ไม่ติดดี มีประโยชน์อย่างไร วันนี้ทีคำตอบ (1)
- เฟอรารี่ (3)
- เฟืองท้าย (14)
- ไฟฉุกเฉิน ไม่จำเป็นและไร้สาระ (1)
- ไฟฟ้ารถยนต์ (24)
- ภาพโครงสร้างเครื่องยนต์ EFI (1)
- ภาพรวมรถยนต์ (9)
- มาสด้า (3)
- มิตซูบิชิ (6)
- มินิ (2)
- โมเดลรถยนต์ (3)
- ยนตกรรม (1)
- ยานยนต์ อุตสาหกรรม (26)
- ยาริส (15)
- รถกระบะ (9)
- รถกระบะ Revo (1)
- รถเก๋ง (51)
- รถแข่ง (2)
- รถจิ๊บ (1)
- รถเบนซ์ (19)
- รถยก (27)
- รถยก อุตสาหกรรม (26)
- รถยก อุตสาหกรรมม (1)
- รถยนต์ (3)
- รถยนต์ไฟฟ้า (4)
- รถรุ่นเก่า (1)
- รถศูนย์ (16)
- รถสปอร์ต (10)
- รถหรู (1)
- รถใหม่ (41)
- ระบบขับอัตโนมัติ (1)
- ระบบความร้อน (2)
- ระบบจุดระเบิด (10)
- ระบบฉีดเชื้อเพลิงแก๊สโซลีน (Gasoline Fuel Injection System) (1)
- ระบบช่วงล่าง (27)
- ระบบเบรค (22)
- ระบบไฟฟ้า (14)
- ระบบรองรับ (5)
- ระบบระบายความร้อน (6)
- ระบบลม (3)
- ระบบส่งกำลัง (1)
- ระบบหล่อเย็น (2)
- ระบบหัวฉีด (1)
- ระบบห้ามล้อ (14)
- ระบบ Hybrid (1)
- ราคารถยนต์ (5)
- รางร่วม (1)
- รีเลย์ (6)
- รีวิว (15)
- รีวิวรถยนต์ (11)
- รู้ไว้ก่อน : การเปลี่ยนขนาดยาง (1)
- เรื่อง น้ำมันเครื่อง (1)
- โรงงานผลิตรถยนต์ (13)
- ล้อตุนกำลัง (1)
- ลักษณะดอก ยางรถยนต์ (1)
- ลากรถอย่างไรเมื่อรถเสีย (1)
- ลำดับการจุดระเบิด (1)
- ลูกปืนกลม (1)
- ลูกสูบ (3)
- วงจรไฟฟ้า (7)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECCS Nissan RB20E (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด ECI-multi Mitsubishi 4G61 (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด EFI เครื่องยนต์ Toyota 4A-GE (1)
- วงจรไฟฟ้าเครื่องยนต์หัวฉีด Honda B16A VTEC DOHC รุ่นแรก (1)
- วิชาช่างยนต์ (10)
- วี8 (1)
- สเปกรถยนต์ (5)
- สร้างเครื่องยนต์ (1)
- สร้างโมเดลรถยนต์ (1)
- สายพานเครื่องยนต์ (2)
- สีรถ (8)
- เสื้อสูบ (5)
- หนังสือรถยนต์ (7)
- หม้อน้ำ (2)
- หลักการทำงาน (2)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ (1)
- หลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (1)
- หัวเทียน (24)
- ห้ามล้อ (14)
- แหวนลูกสูบ (1)
- องค์ประกอบการสันดาปของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- ออกแบบรถยนต์ (22)
- อะไหล่เครื่องยนต์ (3)
- อะไหล่ยนต์ (1)
- อัตราค่าปรับ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 (1)
- อัตราส่วนผสมอากาศต่อเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1)
- อาการหัวเทียน (12)
- อินเตอร์คูลเลอร์ (6)
- อีโก้คาร์ (5)
- อุตสาหกรรม รถยก (27)
- อุปกรณ์เสริม (6)
- แอร์เริ่มไม่เย็น และส่งกลิ่นอับเวลาเปิดแอร์ใหม่ ควรทำอย่างไร ? (1)
- ไอดี (3)
- ไอเสีย (6)
- ฮอนด้า (6)
- ฮอนด้า แอคคอร์ด ไฮบริด (2)
- Accessories (5)
- All New toyota yaris 2013 2014 (1)
- Alternator (1)
- alternators (1)
- Ativ (7)
- Audi (2)
- Audi A4 (1)
- Automatic drive (1)
- Ball Bearing (1)
- bearing (1)
- biodiesel (2)
- BMW (4)
- Brake (23)
- Brake system (23)
- BT-50 (1)
- Car Family (1)
- Cars (61)
- CAT (Catalytic Converter) เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (1)
- Check Engine (1)
- Chevrolet (1)
- CHEVROLET COLORADO (2)
- Colorado (1)
- commonrail (1)
- Common Rail (1)
- Common Rail Engine (1)
- Concept Car (1)
- Connecting rod (1)
- Crankshaft (1)
- Cylinder head (1)
- Diesel Engine (3)
- Diesel fuel (6)
- differential (12)
- DIY (8)
- DURAMAX ENGINE (1)
- DURAMAX VIN CHART (1)
- ECCS (1)
- EFI (1)
- EGR (Exhaust Gas Recirculation) หรือการหมุนเวียนไอเสีย (1)
- Electric car (4)
- Electric cars (4)
- Electronic Fuel Injection Engine (1)
- Engine (37)
- Engine Block (1)
- Engine Curve (1)
- Ferrari (3)
- Flywheel (1)
- Ford (4)
- Ford Ranger (2)
- Fuel (14)
- gasoline (3)
- Gasoline engine (1)
- General Motors (2)
- GMC Canyon (1)
- Honda (11)
- Honda Accord (1)
- HONDA ACCORD HYBRID ใหม่ (1)
- Honda CR-V 2015 (1)
- Honda HR-V (1)
- Honda HRV 2015 (1)
- Honda Jazz (1)
- Honda Vezel (1)
- Hydrogen cars (1)
- i-DTEC (1)
- Ignition Coil (8)
- Ignition System (1)
- i-MMD (1)
- Intercooler (6)
- internal combustion engine (3)
- Jeeb (1)
- lamborghini (4)
- Lamborghini Revuelto (2)
- Mazda (4)
- Mercedes Benz (21)
- Mini (2)
- MINI Cooper (2)
- Mitsubishi (9)
- Mustang (1)
- Navara (2)
- NGV (1)
- Nissan (11)
- nissan np300 navara (1)
- NP300 (1)
- NP300 NAVARA Single Cab (1)
- pickup (6)
- pickup truck. (5)
- Piston (3)
- Piston Ring (1)
- Porsche (2)
- Port Timing Diagram ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ (1)
- Ranger (1)
- Rear axle (1)
- Relay (6)
- Revuelto (1)
- Rotary Engine (1)
- S60 (1)
- S90 (1)
- SEAT (1)
- Self Diagnosis System (1)
- Shock Absorbers (5)
- SKODA (1)
- SKYACTIV-D เครื่องยนต์สกายแอคทีฟคลีนดีเซล (1)
- solenoid (4)
- Spark Plugs (20)
- Starter (6)
- Supper Car (4)
- Suspension System (3)
- Suzuki (2)
- TCCS (1)
- Tesla Model X (1)
- TOYOTA (29)
- Toyota และ Lexus (1)
- Toyota Hilux Revo (1)
- Triton (1)
- V60 (1)
- Ⅴ8 (1)
- Variable Nozzle Turbo (2)
- VGT (5)
- Volkswagen (1)
- Volvo (4)
- Volvo purchased the Polestar brand (1)
- Volvo S90 (1)
- Wankel Engine (1)
- XC90 (1)
- Yaris (15)