Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |

ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบเตรื่องยนต์


หัวฉีดน้ำมันดีเซล
                เครื่องยนต์ดีเซลไม่จำเป็นต้องใช้ระบบการจุดระเบิด   แต่จะใช้การฉีดน้ำมันไปยังอากาศ  ซึ่งถูกทำให้ร้อนโดยการบิดอัดภายในกระบอกสูบเพื่อให้ได้การสันดาป  ในส่วนนี้จะให้รายละเอียดของชนิดวิธีการฉีด  2  วิธีหลัก: คือ   Direct injection   และ   Indirect injection
ชนิด  Direct Injection  ( เครื่อง 2Z, 13Z  และ 14Z )
                ดังที่ชื่อบอกชนิดของหัวฉีด   Direct injection    จะสเปรย์  หรือฉีดน้ำมันดีเซลไปยังห้องสันดาปโดยตรงเพื่อให้เกิดการจุดระเบิด   ในตัวหัวฉีดน้ำมันดีเซล 1   ตัว   นั้นจะมีรูเล็ก ๆ มากมายที่จะแปลงน้ำมันที่ถูกฉีดเข้าไปให้เป็นละอองน้ำมันเพื่อให้ได้การสันดาปที่มากกว่า
 
ชนิด  In-Direct Injection   ( เครื่อง 1DZ  และ 1DZ-II )
                สำหรับหัวฉีดชนิดนี้  จะมีห้องเล็ก ๆ  อยู่ภายนอกห้องสันดาป หรือที่เรียกว่าห้องก่อนการสันดาป  ซึ่งถูกเชื่อมต่อโดยทางผ่านไปยังห้องสันดาป   โดยน้ำมันจะถูกฉีดไปยังห้องก่อนการ   ซึ่งทำให้น้ำมันเกิดการจุดระเบิดและกระจายตัวไปยังห้องสันดาป
 
(b) คุณลักษณะเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
เครื่องยนต์แก๊สโซลีนของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อมองโดยรวม
                มีเครื่องยนต์แก๊สโซลีนให้เลือกใช้  4  รุ่น  สำหรับยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรมของยานยนต์อุตสาหกรรม  (เมื่อเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2544)  ซึ่งแต่ละรุ่นมีขนาดเครื่อง  และ  Output  ต่าง  ๆ ที่ตรงกับชนิดของงานที่แตกต่างกัน พึงจำไว้ว่าจริง  ๆ   แล้วเครื่องยนต์เหล่านี้บางตัว  อาจมีส่วนประกอบที่เหมือนกันกับในเครื่องยนต์อื่น ๆ  แต่ถูกปรับแต่งพิเศษจนได้ระดับพลังงานและแรงบิดเฉพาะเพื่อเหมาะสมการสภาพการลำเลียงสิ่งของที่แตกต่างกัน
                ในช่วงทศวรรษ 1970 ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน  4 รุ่น แตกต่างกันในยานยนต์อุตสาหกรรม: เครื่อง 3P  ขนาด 1,345 ซีซี ,  เครื่อง  2R   ขนาด  1,490  ซีซี ;   และเครื่องแก๊สโซลีน  5R   4  กระบอกสูบ  ขนาด  1,994  ซีซี   เช่นเดียวกัน เครื่องยนต์  F 6  กระบอกสูบ  ขนาด  3,873  ซีซี   เครื่องยนต์  P series   เป็นที่รู้จักกันดีนั้น  มีวิวัฒนาการจากเครื่อง  3P   ในช่วงต้นทศวรรษ  1970   ไปเป็นเครื่อง  4P   ขนาด  1,493  ซีซี    และไปเป็นเครื่อง  5P    ขนาด  2,771  ซีซี ในช่วงกลางทศวรรษ  1970  ในภายหลัง  ส่วนเครื่อง F series  ได้เปลี่ยนไปเป็นเครื่อง 2F ขนาด 4,230 ซีซี  ในช่วงปลายทศวรรษ 1980  และเปลี่ยนไปเป็นเครื่องยนต์ 3F  ขนาด 3,955  ซีซี   ในช่วงต้นทศวรรษ 1990
                ในช่วงที่มีการเปลี่ยนรุ่น series 1 ถึง 3  ตัน  เต็มรูปแบบในช่วงกลางทศวรรษ 1980  เครื่องยนต์ 4Y ขนาด 2,237  ซีซี   ได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์  5P  และยังคงใช้เรื่อยมาจนถึงวันนี้   ในช่วงปลายทศวรรษ 1980   ได้มีการแนะนำเครื่องยนต์  5K ขนาด 1,486 ซีซี เข้าสู่ท้องตลาดเพื่อเข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 5Pในขณะที่มีการใช้เครื่องยนต์ 5K   และ 4Y   ใน  series 1  ถึง  3.5 ตัน ซึ่งเครื่องทั้งสองรุ่นมีเพลาข้อเหวี่ยงถึง  5   ตัวอันจะช่วยเพิ่มความไว้วางใจให้รถได้   ยิ่งไปกว่านั้นเครื่องยนต์ 4Y มีการถ่วงดุลน้ำหนัก (ที่เพลาข้อเหวี่ยง) ถึง 8 จุดเพื่อช่วยลดการสั่นสะเทือน
ของเครื่องยนต์ได้อย่างมาก   เครื่องยนต์ 1FZ   ถูกใช้ในรุ่น  3.5  ถึง  5  ตัน





ห้องสันดาปรูปลิ่ม  (เครื่องยนต์  5K  และ  4 )
                “ลิ่ม   คือรูปทรงที่ได้ระหว่างลูกสูบและส่วนบนของห้องสันดาป   โดยปรกติแล้วพื้นที่ส่วนนี้จะมีรูปทรงครึ่งวงกลม  แต่ยานยนต์อุตสาหกรรมเห็นแล้วว่าทรงรูปลิ่มนั้นสร้างสภาพการผสมน้ำมันกับอากาศได้ดีที่สุด  สภาพการผสมหรือที่เรียกว่า   การหมุน  ที่ได้จากรูปทรงรูปลิ่มนั้นให้ประสิทธิภาพ   และกำลังของเชื้อเพลิงได้สมบูรณ์ที่สุดในช่วงการหมุน  1,000   ถึง  2,400   รอบต่อนาที   ในเครื่องยนต์ของยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรม
 
ห้องสันดาปทรงหลังคาห้าเหลี่ยม  (เครื่องยนต์  1FZ)
                ดังที่ชื่อบอก   หลังคาห้าเหลี่ยมหมายถึง   รูปทรงห้าเหลี่ยมที่ถูกสร้างขึ้นระหว่างลูกสูบ   และส่วนบนของห้องสันดาป  รูปทรงนี้เพิ่มกระแสการผสมภายในกระบอกสูบ   อันเป็นการช่วยปล่อยแก๊สไอเสียออกมา  รูปแบบนี้ยังช่วยสร้างกระแสน้ำมันหมุนวนภายในห้องสันดาป  เมื่อลูกสูบอยู่จุดบนสุดของการเหวี่ยงซึ่งช่วยลดเสียงกระแทก  ( เสียงกระแทก:  เสียงที่เหมือนการตอกตะปูอันเกิดขึ้นระหว่าง   การสันดาปที่ไม่เหมาะสมของการผสมเชื้อเพลิง )
 
ระบบการจุดระเบิดแบบองค์รวม (เครื่องยนต์ 5K และ 4Y)
                ระบบจุดระเบิดแบบองค์รวม  หรือ The Integrated Ignition Assembly (I.I.A) มีคอยล์จุดระเบิดและตัวจุดระเบิดที่ถูกสร้างเข้าไปในตัวจ่าย การออกแบบเช่นนี้ไม่เพียงแต่จะให้ระบบการจุดระเบิดที่กะทัดรัดและไม่ต้องใช้การดูแลรักษา (ไม่มีจุดใดที่ต้องเปลี่ยน) แล้ว  การจุดระเบิดไฟฟ้าจะส่งประกายไฟที่ร้อนกว่าที่ได้จากระบบดั้งเดิม ทั้งหมดนี้ให้การสันดาปที่ดีกว่าเพื่อประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงคุ้มกว่าและเกิดสารคาร์บอนในเครื่องยนต์น้อยลง


ห้องสันดาปรูปลิ่ม  (เครื่องยนต์  5K  และ  4 )
                ลิ่ม   คือรูปทรงที่ได้ระหว่างลูกสูบและส่วนบนของห้องสันดาป   โดยปรกติแล้วพื้นที่ส่วนนี้จะมีรูปทรงครึ่งวงกลม  แต่โตโยต้าเห็นแล้วว่าทรงรูปลิ่มนั้นสร้างสภาพการผสมน้ำมันกับอากาศได้ดีที่สุด  สภาพการผสมหรือที่เรียกว่า   การหมุน  ที่ได้จากรูปทรงรูปลิ่มนั้นให้ประสิทธิภาพ   และกำลังของเชื้อเพลิงได้สมบูรณ์ที่สุดในช่วงการหมุน  1,000   ถึง  2,400   รอบต่อนาที   ในเครื่องยนต์ของยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรม

ห้องสันดาปทรงหลังคาห้าเหลี่ยม  (เครื่องยนต์  1FZ)
                ดังที่ชื่อบอก   หลังคาห้าเหลี่ยมหมายถึง   รูปทรงห้าเหลี่ยมที่ถูกสร้างขึ้นระหว่างลูกสูบ   และส่วนบนของห้องสันดาป  รูปทรงนี้เพิ่มกระแสการผสมภายในกระบอกสูบ   อันเป็นการช่วยปล่อยแก๊สไอเสียออกมา  รูปแบบนี้ยังช่วยสร้างกระแสน้ำมันหมุนวนภายในห้องสันดาป  เมื่อลูกสูบอยู่จุดบนสุดของการเหวี่ยงซึ่งช่วยลดเสียงกระแทก  ( เสียงกระแทก:  เสียงที่เหมือนการตอกตะปูอันเกิดขึ้นระหว่าง   การสันดาปที่ไม่เหมาะสมของการผสมเชื้อเพลิง )





ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบส่งกำลัง

ยานยนต์อุตสาหกรรม ระบบส่งกำลัง
                แม้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจะมีระบบขับเคลื่อนล้อหน้า   โครงสร้างระบบส่งกำลังของยานยนต์อุตสาหกรรมนั้นเหมือนกับของรถกระบะ   (ปิกอัพ) มากกว่าของรถยนต์ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า  สำหรับรถกระบะปิกอัพพลังขับเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องยนต์  นั้น   โดยปรกติแล้วจะถูกส่งไปยังอุปกรณ์ปรับแรงบิด  และจากนั้นก็ผ่านไปยังระบบเกียร์   เพลากลาง   เฟืองท้าย   และเพลาข้างจนไปถึงล้อขับเคลื่อนด้านหลัง  โดยสรุปก็คือ   ยานยนต์อุตสาหกรรมมีระบบการส่งกำลังเหมือนกับรถกระบะปิกอัพ
                ยานยนต์อุตสาหกรรมมีเพลาหน้าที่ทนทานแข็งแรง  และมีการบังคับทิศทางจากล้อหลัง  จุดสำคัญที่ควรจำไว้ก็คือไม่ว่าจะมีชนิดเกียร์ขับเคลื่อนแบบใด   จุดหมายก็คือ  การวางสิ่งที่บรรทุกให้ใกล้ล้อขับเคลื่อนให้ได้มากที่สุด   เพื่อให้ได้แรงดึงสูงสุด


 
1) เครื่องยนต์สำหรับยานพาหนะเพื่อยานยนต์อุตสาหกรรม
                ในขณะที่เครื่องยนต์ของรถยนต์ได้รับการออกแบบเพื่อให้พลัง  และแรงบิดสูงสุดเมื่อขับเคลื่อนด้วยความ
เร็วค่อนข้างสูง เครื่องยนต์ของรถยกอุตสาหกรรมกลับได้รับการออกแบบให้ขับเคลื่อน  ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยความเร็วในการทำงานที่ต่ำกว่า
                ลักษณะเด่นต่าง  ๆ  ที่จำเป็นสำหรับเครื่องยนต์ยานยนต์อุตสาหกรรม  ประกอบด้วยการให้แรงบิดสูงที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์ต่ำกว่า   โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเชื่อถือได้   การประหยัดเชื้อเพลิง    การปล่อยไอเสียที่ต่ำ   และไม่ส่งเสียงดัง
                ในการเปรียบเทียบเส้นกราฟพลังงานของเครื่องยนต์ที่ใช้ในรถยนต์   และเครื่องยนต์ที่ใช้ในยานยนต์อุตสาหกรรม  คุณจะเห็นได้ว่าแรงบิดสูงสุดนั้น  เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วบนเส้นกราฟพลังงานของยานยนต์อุตสาหกรรม    และช้ากว่าในเส้นกราฟพลังงานของรถยนต์   ทั้งนี้เป็นเพราะว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจำเป็นต้องใช้แรงบิดสูงสุดเมื่อเครื่องยนต์อยู่ที่   rpms    ต่ำ

(a) แรงบิดสูงที่ความเร็วเครื่องยนต์ต่ำ
                มีความจำเป็นที่ต้องมีขั้นตอนต่าง ๆ  เพื่อใช้ในการป้องกันเครื่องยนต์ดับ   เมื่อระบบลำเลียงสิ่งของทำงานหรือเมื่อพวงมาลัยพาวเวอร์ทำงานในขณะที่เครื่องยนต์วิ่งด้วยความเร็วต่ำ   หรือไม่ได้เคลื่อนที่    เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือกใช้ระบบเชื้อเพลิง   ระบบจุดระเบิด   และระบบไอดีที่เข้ากัน
(b) การควบคุมความเร็วเครื่องยนต์โดยอุปกรณ์ปรับความเร็ว
          -   การควบคุมความเร็วเครื่องยนต์สูงสุด    ความเร็วสูงสุดของเครื่องยนต์มีอิทธิพลต่อปัจจัยต่าง   ๆ   อย่างมากมายอีกด้วยอย่างเช่น  เสียงรบกวนของการทำงาน   และความเร็วของปั๊มไฮดรอลิก     จึงมีการใช้อุปกรณ์ปรับความเร็ว    เพื่อควบคุมความเร็วสูงสุดของเครื่องยนต์
-   การควบคุมอุปกรณ์ปรับความเร็วที่แม่นยำ    มีความจำเป็นที่จะต้องมีการควบคุมอุปกรณ์ปรับความเร็ว
ที่แม่นยำ     เพื่อป้องกันสมรรถนะการทำงานของเครื่องยนต์ที่อาจลดลงอย่างน่าตกใจ  เมื่อบรรทุกสิ่งของจำนวน
มาก   เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือกอุปกรณ์ปรับความเร็วที่มีลักษณะเหมาะสมมากที่สุด

(C) เครื่องยนต์ที่ใช้ในการทำงานต่าง ๆ ที่หลากหลาย
                นอกเหนือจากงานต่าง ๆ  ที่รถยนต์สามารถทำได้  เครื่องยนต์ยานยนต์อุตสาหกรรมยังจะต้องทำงานอย่างเช่น  การเร่งเครื่องเมื่อยกสิ่งของที่บรรทุกได้ด้วย   เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้กว้างกว่า   เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือก  ระบบไอดี  ระบบจุดระเบิด   และระบบเชื้อเพลิงที่เหมาะสมที่สุด
ข้อความพิเศษ
อุปกรณ์ปรับความเร็ว
                โดยทั่วไป    บทบาทหน้าที่ของอุปกรณ์ปรับความเร็วในรถยนต์นั้นคือ    เพื่อป้องกันเครื่องยนต์ขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่เกินอัตรารอบหมุน / นาทีสูงสุด   บทบาทหน้าที่ของมันในรถยกอุตสาหกรรมนั้นมีความซับซัอนมากกว่า และถูกใช้เพื่อให้ได้กำลัง   และแรงบิดสูงสุดที่อัตรารอบหมุน / นาที   ของเครื่องยนต์ที่ต่ำของยานยนต์อุตสาหกรรม
                หน้าที่ของอุปกรณ์ปรับความเร็วของยานยนต์อุตสาหกรรมประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ  ต่อไปนี้
·        จำกัดความเร็วเครื่องยนต์สูงสุด ซึ่งไม่จำเป็นต่อยานยนต์อุตสาหกรรม
·        ใช้แรงบิดเครื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
·        ให้ความเร็วปั๊มไฮดรอลิกที่สมบูรณ์ที่สุด
·        ให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด
·        ช่วยลดเสียงรบกวน
·        ช่วยยืดอายุการใช้งาน

(a) คุณลักษณะของเครื่องยนต์ดีเซล
เครื่องยนต์ดีเซลของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อมองโดยรวม
                ยานยนต์อุตสาหกรรมนำเสนอเครื่องยนต์ที่แตกต่างกันถึง  5  แบบ   พร้อมด้วยขนาดตัวเครื่องยนต์ที่แตกต่างกันเพื่อให้ตรงกับความต้องการใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมได้กว้างกว่า  (เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2544)   พึงจำไว้ว่าจริง ๆ แล้วเครื่องยนต์เหล่านี้บางตัว  อาจมีส่วนประกอบที่เหมือนกันกับในเครื่องยนต์อื่น ๆ  แต่ถูกปรับแต่งพิเศษจนได้ระดับพลังงาน   และแรงบิดเฉพาะเพื่อเหมาะสมการสภาพการลำเลียงสิ่งของที่แตกต่างกัน
                ในตอนแรก   ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เพียงเครื่องยนต์ดีเซลแบบของรถยนต์   ซึ่งได้รับการปรับแต่งให้ใช่ในยานยนต์อุตสาหกรรมได้ ภายหลังเครื่องยนต์ดีเซลจึงได้รับการพัฒนา   เพื่อใช้ในยานยนต์อุตสาหกรรมเป็นการเฉพาะเท่านั้น
                ในช่วงเริ่มต้น   ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เครื่องยนต์ J  4  กระบอกสูบ  ระบบ  indirect injection  ขนาดเครื่อง  2,366 cc กับยานยนต์อุตสาหกรรม   จากวันนั้นถึงตอนนี้เครื่องยนต์  J series   มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดี  ในเรื่องให้กำลังที่สมดุลที่สุด ,  สมรรถนะ ,    และการทำงานที่คุ้มค่าแก่ยานยนต์อุตสาหกรรม
                ตั้งแต่เป็นที่รู้จัก เครื่องยนต์ J series   ได้ผ่านการอัพเกรดหลายครั้ง   เพื่อเพิ่มพลัง    และกำลังเครื่องมีการเปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์  2J  ขนาด  2,481 cc   ในการอัพเกรดครั้งแรกในช่วงปลายยุค  ค.ศ. 1970    เครื่องยนต์ 2J  ถูกใช้เรื่อยไปอย่างต่อเนื่อง    จนกระทั่งได้รับการพัฒนาไปเป็นเครื่องยนต์  1DZ   ขนาด  2,486  cc   ในช่วงกลางทศวรรษ  1980    ประโยชน์ของมันใน  1 to 3 ton series   ตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษ  1990  ได้ทำให้มันเป็นที่รู้จักในฐานะเครื่องยนต์ที่ไว้วางใจได้สูงพร้อมกับเสียงที่เบา    ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน    ภายหลังจึงติด
ตามมาด้วยเครื่องยนต์  1DZ-II    ที่ได้รับการพัฒนาเข้าสู่ท้องตลาด
                เครื่อง 1Z   4  กระบอกสูบ   ขนาดเครื่อง  2,953 cc   อันเป็นเครื่องยนต์ดีเซล  direct injection   เครื่องแรกของยานยนต์อุตสาหกรรมนั้นได้รับการพัฒนาในปี  1986   และไม่นานจากนั้นก็ถูกใช้ในรถรุ่น 2 to 3 ton ในช่วงกลางทศวรรษ 1990  เครื่องยนต์ 1Z   ถูกอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 2Z   ขนาด 3,469 cc   ในปัจจุบันยังคงใช้เครื่องยนต์ชนิดนี้ในรุ่น 2 to 3.5 ton   ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าให้การสตาร์ทเครื่องที่ง่าย  ใช้เชื้อเพลิงน้อย   และปล่อยไอเสียเพียงน้อยนิด
                เครื่องยนต์ 11Z  ระบบ direct injection  6  กระบอกสูบ  ขนาด 4,429 cc  ซึ่งถูกนำเข้าสู่ตลาดในช่วงปลายทศวรรษ  1980   เพื่อใช้ใน  3.5 ton series   ได้รับการอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 13Z  ขนาด 4,616 cc ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 ซึ่งตามมาด้วยเครื่องยนต์  12Z ขนาด 4,994 cc ที่ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1990 เพื่อใช้ใน 5 to 8 ton series ได้รับการอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 14Z ขนาด 5,204 cc ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 และใช้เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้











ยานยนต์อุตสาหกรรม | การออกแบบรูปลักษณ์ของยานยนต์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

การออกแบบรูปลักษณ์ของยานยนต์อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน

คุณลักษณะต่าง  ๆ  ของยานยนต์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์สันดาปภายใน   ที่มีน้ำหนักถ่วงด้านหลัง  เราจึงเปรียบเทียบยานยนต์อุตสาหกรรมกับรถยนต์ธรรมดาและรถบรรทุก    ยานยนต์อุตสาหกรรมได้รับการออกแบบมาเฉพาะเพื่อยก  และบรรทุกสิ่งของหนัก ๆ ในขณะที่รถยนต์ได้รับการออกแบบให้บรรทุกผู้โดยสาร เราจะทำการเปรียบเทียบรูปแบบของยานยนต์อุตสาหกรรม  กับรถบรรทุก   ซึ่งจะช่วยให้คุณเข้าใจถึงรูปแบบเฉพาะของยานยนต์อุตสาหกรรมได้

ตำแหน่งการยกสูงขึ้นของเครื่องยนต์
                ดังที่คุณได้เห็นในภาพตัวอย่าง  ตัวเครื่องยนต์จะถูกยกขึ้นไปอยู่ใกล้กับตำแหน่งกึ่งกลางของยานยนต์อุตสาหกรรม  และถูกเชื่อมต่อเข้ากับระบบการส่งกำลัง   ยานยนต์อุตสาหกรรมมีการขับเคลื่อน 4  ล้อเหมือนกันรถยนต์ในปัจจุบัน   แต่เพลาหน้าถูกใช้ในยานยนต์อุตสาหกรรมเพื่อรักษากำลังไว้

ตำแหน่งการบรรทุกของ
                ในรถกระบะ  ของจะถูกบรรทุกบริเวณเหนือเพลาหลังศูนย์กลาง  ของบรรทุกจะอยู่ใกล้กับศูนย์กลางของตัวรถกระบะ   น้ำหนักของการบรรทุกจะถูกเฉลี่ยอย่างเท่า ๆ  กันไปบนลูกล้อทั้งหมด
                อย่างไรก็ตามหากคุณดูที่ภาพตัวอย่างของยานยนต์อุตสาหกรรม   คุณจะเห็นว่าของนั้นถูกบรรทุกที่ด้านหน้าของเพลาหน้า ซึ่งหมายความว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจะเอนไปด้านหน้าหากไม่มีน้ำหนักถ่วงดุลที่ด้านหลังของยานยนต์อุตสาหกรรมบทบาทของการถ่วงน้ำหนักก็เพื่อจะชดเชยน้ำหนักการบรรทุกบนตัวยก   และเพื่อป้องกันไม่ให้ยานยนต์อุตสาหกรรมเอนไปด้านหน้า


ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า
                ในขณะที่รถยนต์ในปัจจุบัน   ใช้ระบบการขับเคลื่อนล้อหน้า   โดยปรกติรถกระบะโดยส่วนใหญ่ใช้ระบบการขับเคลื่อนล้อหลัง
                เหตุผลสำหรับเรื่องนี้คือ  น้ำหนักของการบรรทุกซึ่งโดยปรกติแล้วจะตกไปที่ล้อหลัง  ช่วยทำให้เกิดแรงดึงไปยังล้อขับเคลื่อนด้านหลัง  หากล้อขับเคลื่อนอยู่ด้านหน้าน้ำหนักของสิ่งที่บรรทุกก็มีแนวโน้มที่จะลดน้ำหนักที่ตกบนล้อหน้าได้   ซึ่งทำให้ล้อหมุนได้ง่ายขึ้นยานยนต์อุตสาหกรรมก็ใช้หลักการพื้นฐานเดียวกันนี้   เช่นกันน้ำหนักของสิ่งที่บรรทุกจะตกลงที่ล้อหน้า   ซึ่งเป็นล้อขับเคลื่อนด้วยการออกแบบนี้จะให้น้ำหนักสูงสุดไปตกที่เพลาและล้อด้านหน้าเพื่อให้ได้แรงลากที่ยอดเยี่ยม


การบังคับทิศทางล้อหลัง
                รถกระบะ และรถยนต์ทุกประเภทใช้ล้อหน้าบังคับทิศทางการออกแบบนี้เหมาะสมกับการใช้งานเนื่องจาก  รถยนต์จะขับเคลื่อนไปในทิศทางด้านหน้า
                อย่างไรก็ตาม   คุณเคยสังเกตไหมว่ารถยนต์ของคุณหักเลี้ยวได้มากเท่าไรเมื่อถอยรถไปด้านหลัง   รูปแบบของล้อหลังให้การหักเลี้ยวที่มากกว่า  นี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่รถยกอุตสาหกรรมใช้ล้อหลังเป็นล้อบังคับทิศทาง
                เมื่อมีการบรรทุกสิ่งของ   โดยปรกติแล้วสัดส่วนน้ำหนักที่ตกลงบนล้อหน้า   และล้อหลังของรถกระบะจะ
อยู่ที่    40/60  โดย  40%   ของสิ่งที่บรรทุกตกบนล้อหน้าและ   60%   บนล้อหลัง    เมื่อเปรียบเทียบกันสัดส่วนการกระจายน้ำหนักของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อบรรทุกของเต็มอัตราจะอยู่สูงถึง   90/10   โดยที่น้ำหนักเพียง   10%   สิ่งที่บรรทุกตกบนล้อหลังซึ่งทำให้การบังคับทิศทางเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น

พัดลมแรงดันด้านหลัง
                รถบรรทุกและรถยนต์ส่วนใหญ่มีหม้อน้ำที่ด้านหน้าของยานพาหนะ   ซึ่งมีเหตุผลดีที่จะอธิบายเรื่องนี้เนื่อง จากยานพาหนะเหล่านี้ขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่ค่อนข้างสูง  ทำให้ดันอากาศให้เข้าไปยังตัวทำความร้อนได้มากกว่าโดยธรรมชาติ   และใช้พัดลมเพื่อให้ความเย็นมากขึ้นไปอีก
                ยานยนต์อุตสาหกรรมไม่ต้องขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูง    ยิ่งไปกว่านั้นยังมีส่วนประกอบไฮดรอลิกจำนวนมากที่ทำให้เกิดความร้อน  รูปแบบพัดลมระบายความร้อนออกด้านหลังจึงช่วยเป่าความร้อนจากห้องเครื่องยนต์ และส่วนประกอบของไฮดรอลิกไปทางด้านหลังของยานยนต์อุตสาหกรรม   และก็ให้ความเย็นแก่หม้อน้ำไปพร้อม ๆ  กันอีกด้วย  โปรดจำไว้ว่ามีการใช้พัดลมชนิดดึงลมที่ได้รับการติดตั้งในส่วนหลังของหม้อน้ำในยานยนต์อุตสาหกรรมมาด้วย




ค่าออกเทนมีผลอย่างไรกับเครื่องยนต์

ในปัจจุบันราคาน้ำมันได้สูงขึ้นเรื่อยๆ ทำให้รัฐบาลต้องออกมารณรงค์ เกี่ยวกับการประหยัดน้ำมันโดยมีข้อ ความเชิญชวนต่างๆ เช่น “ ใช้ 91 เติม 91 ” หรือ “ ขับ 90 กม./ชม.แทน110 กม./ชม. ” หรือ “ ใช้แก๊สโซฮอล์ 95 แทนเบนซิน 95 ” และ จากกระทู้ต่างๆที่สอบถามเข้ามายัง Webboard ของเราเกี่ยวกับการเลือกใช้ค่าออกเทนที่ถูกต้องดังนั้นทางแผนกเทคนิคและฝึก อบรมจึงได้จัดหาข้อมูลที่น่าสนใจและน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้รถยนต์ให้ สามารถทราบถึงข้อมูลของค่าออกเทนเพื่อที่จะได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการ เลือกใช้ค่าออกเทนที่เหมาะสมสำหรับเครื่องยนต์ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับเจ้าของรถยนต์และประเทศชาติของเรา

ค่าออกเทน คือ อะไร...

โดย ปกติแล้วในน้ำมันเบนซินจะถูกเติมสารเพิ่มค่าออกเทน เพื่อจะทำให้น้ำมันมีคุณสมบัติทนต่อการน๊อคได้สูงขึ้น เช่นเดียวกับการเพิ่มค่าซีเทนในน้ำมันดีเซล ซึ่งในอดีตสารที่ใช้ในการเพิ่มค่าออกเทน จะมีส่วนผสมของสารตะกั่วประกอบอยู่ด้วย โดยสารตะกั่วจะทำให้เกิดมลพิษจากไอเสีย ซึ่งเป็นผลร้าย ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมแต่ในปัจจุบันมีการพัฒนาคุณภาพของน้ำมันโดยไม่ต้อง ใช้สารตะกั่วมาเป็นสาร ประกอบเพื่อเพิ่มค่าออกเทนอีกต่อไป ดังนั้นเราจึงได้ยินคำว่า “ น้ำมันไร้สารตะกั่ว ” ซึ่งในขณะนี้มีอยู่ 2 ชนิดในท้องตลาดคือ น้ำมันเบนซินออกเทน 91 และน้ำมันเบนซิน ออกเทน 95 โดยทั้ง 2 ชนิด จะเป็นน้ำมันที่ไร้สารตะกั่วทั้งคู่

ค่าออกเทน คือ คุณสมบัติของน้ำมันที่แสดงถึงความสามารถในการต้านทานการจุดระเบิดก่อนเวลาที่กำหนดใน เครื่องยนต์เบนซิน หรือเป็นค่าที่แสดงถึงความต้านทานการน็อคของเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ซึ่งใน เครื่องยนต์แต่ละรุ่นแต่ละแบบจะมีความต้องการค่าออกเทนที่ไม่เท่ากันโดยขึ้น อยู่กับการ ออกแบบของวิศวกรและบริษัทผู้ผลิตรถยนต์

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ...
เมื่อผู้ใช้รถยนต์ใช้น้ำมันที่มีค่าออกเทนที่เหมาะสมกับความต้องการหรือข้อ กำหนดของเครื่องยนต์จะทำให้เครื่องยนต์มีประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน และยังช่วยให้ประหยัดทรัพยากร รวมทั้งยังประหยัดเงิน แต่ถ้าใช้น้ำมันที่มีค่าออกเทนต่ำกว่าความต้องการอาจทำให้เครื่องยนต์เกิด การน็อคทำให้ประสิทธิภาพ ของเครื่องยนต์ลดลง รวมถึงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับตัวกรองไอเสียในขณะเดียวกันหากใช้น้ำมัน ที่มีค่าออกเทนสูงเกินความต้องการของเครื่องยนต์ ถึงแม้จะไม่ส่งผลกระทบต่อเครื่องยนต์หรือการใช้งาน แต่จะทำให้เกิดความสิ้นเปลืองได้

ดังนั้น ผู้ใช้รถยนต์จึงควรเลือกเติมน้ำมัน ตามที่คู่มือการใช้รถยนต์ระบุไว้ เพื่อประสิทธิภาพต่อเครื่องยนต์และเป็นการประหยัดต่อผู้ใช้รถยนต์เอง

เกียร์ B ของ camry hybrid มีไว้ทำไม

ก่อนอื่นต้องมาทำความเข้าใจกันก่อนว่า camry hybrid มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่างๆนั้นแตกต่างจากรถยนต์ทั่วไปหรือแม้กระทั่งในรถ ยนต์ camry ด้วยกันเอง ดังเช่น ตำแหน่งของเกียร์ ซึ่งรถทั่วไปจะมีตำแหน่งเกียร์ที่ เราคุ้นกันคือ P , R ,N ,D ,3 , 2 , L แต่สำหรับ camry hybrid จะมีตำแหน่งเกียร์ คือ P , R ,N ,D ,B จะสังเกตได้ว่ามีบางเกียร์หายไปและจะมีบางเกียร์เพิ่มมา เฉพาะ camry hybrid เท่านั้นและในการนี้ขอกล่าวถึงตำแหน่งของเกียร์ B เท่านั้น

จะเห็นได้ว่าใน camry ที่ไม่ใช่ hybrid ที่เป็นโฉมเดียวกันกับ camry hybrid จะมีบางสิ่งบางอย่างที่-
แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงในแต่ละรุ่น ได้แก่ 3.5 , 2.4 , และ 2.0 ลิตรในเรื่องของตำแหน่งเกียร์ B ของ camry hybrid นั้นจะมีประโยชน์มากสำหรับเจ้าของรถตลอดจนผู้ขับขี่ กล่าวคือ จะได้ทั้งประโยชน์ , ทั้งความเพลิดเพลิน , มีความปลอดภัย , มีความประหยัด ( ผ้าเบรก ) เป็นต้น.

เมื่อขับขี่รถยนต์ตามเส้นทางต่างๆ หากต้องการใช้ตำแหน่งเกียร์ B ผู้ขับขี่สามารถกระทำได้เป็น-
การหน่วงความเร็วโดยอาศัยมอเตอร์ไฟฟ้า โดยที่ผู้ขับขี่ไม่ต้องเหยียบเบรกเลยแม้แต่น้อย เป็นการชะลอรถยนต์ด้วยความเร็วที่ลดลงเพียงแค่เลื่อนคันเกียร์ไปในตำแหน่ง B เท่านั้น สังเกตใด้บนมาตรวัด หากมีการเลื่อนเกียร์แล้ว ไฟจะสว่างขึ้นตรงตัวอักษร B อาการของรถยนต์ก็จะลดความเร็วลง นอกจากนั้นระบบไฟจะทำการชาร์จไฟของระบบไฮบริดเพื่อเก็บในแบตเตอรี่ไฮบริด เช่นเดียวกับในกรณีที่รถยนต์จอดนิ่ง มีข้อแม้จะต้องเลื่อนคันเกียร์ไปในตำแหน่ง P เท่านั้น มิฉะนั้นจะไม่มีการชาร์จไฟของระบบไฮบริดแต่อย่างใด เมื่อเป็นเช่นนี้เครื่องยนต์จะมีการทำงาน เพื่อทำการชาร์จไฟเข้าสู่ระบบไฮบริด ก็เท่ากับว่าการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงก็จะมากขึ้นตามลำดับ หากการขับขี่ของผู้ใช้รถยนต์กระทำตามที่ใด้ระบุอยู่ในคู่มือการใช้รถ ดังเช่น ตำแหน่งเกียร์ B ตามที่กล่าวมาจะส่งผลต่อระบบไฟฟ้าของระบบไฮบริด แต่ยังมีสิ่งที่เจ้าของรถและผู้ขับขี่ได้ประโยชน์อีก คือ การสึกหรอของผ้าเบรกจะน้อยลงอย่างมากถึงแม้ว่าจะขับด้วยความเร็วสูงก็ตาม ก็สามารถกระทำได้ตามความต้องการและอาการของรถยนต์ก็ไม่เสียการทรงตัว ทางด้านผู้ขับขี่ก็ไม่เสียการควบคุมรถแต่อย่างใด

อาจมีคนสงสัยว่า หากมีการขับรถขึ้นเขาและลงเขาจะทำอย่างไรในเมื่อเกียร์อัตโนมัติรุ่นอื่นๆมี ตำแหน่งการใช้ engine brake ในขณะขับลงเขาเพื่อชะลอความเร็วยกตัวอย่างเช่น จาก D ไป 3 หรือจาก 3
ไป 2 เป็นต้นแต่สำหรับ คัมรี่ ไฮบริดผู้ขับขี่สามารถเลือกใช้ตำแหน่งเกียร์ B หรือจะเล่นเกียร์ B ได้เช่นกัน ในบางครั้งทำให้ผู้ขับขี่มีความรู้สึกว่า มีความปลอดภัยมากกว่า หรือมีการขับขี่ที่สนุกสนานมากกว่า ( อันนี้ขึ้นอยู่ความชำนาญของผู้ขับขี่ ) ถึงอย่างไรแล้วผู้ที่เป็นเจ้าของรถ คัมรี่ ไฮบริด คงจะต้องฝึกเพื่อให้เกิดความเคยชิน แล้วจะเกิดประโยชน์สูงสุดนั่นองครับ

สำหรับข้อมูลที่ได้กล่าวมานั้นหากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามไปยังแผนกเทคนิคของเราได้ในเวลาทำการครับ ท้ายนี้ขอให้ผู้อ่านทุกท่าน สุขภาพอนามัยแข็งแรง ร่ำรวยกันถ้วนหน้าครับ

เกียร์ CVT (Continuosly Variable Transmission)

เป็นเกียร์อัตโนมัติประเภทหนึ่งซึ่งจะมีลักษณะเป็นแบบแปรผัน จะมีความแตกต่างกับเกียร์อัตโนมัติทั่วไป เพราะเกียร์ cvt รูปแบบการส่งกำลังหรือการถ่ายทอดกำลังจะเป็นอีกแบบหนึ่ง ชิ้นส่วนหลักๆโดยทั่วไปจะใกล้เคียงกับเกียร์อัตโนมัติทั่วไป เช่น ชุดทอร์คคอนเวอร์เตอร์, ชุดคลัทช์, ชุดปั้มแรงดัน, ชุดเฟืองท้าย เป็นต้น แต่ในเกียร์ cvt จะมีชิ้นส่วนหลักที่แตกต่าง ได้แก่ มูเลย์ 2 ตัว , และสายพานโลหะ เป็นต้น

หลักการทำงานอย่างง่ายๆเพื่อความเข้าใจมากขึ้น ดังนี้
คือ เมื่อเครื่องยนต์ทำงานจะถ่ายทอดกำลังงานมายังชุด เกียร์ผ่านมาทางทอร์คคอนเวอร์เตอร์ หากเราทำการเข้าเกียร์ชิ้นส่วนภายในเกียร์ก็เริ่มทำงานเพลารับกำลังจะรับการ ส่งถ่ายกำลังมาจากเครื่องยนต์ ซึ่งเพลารับกำลังนี้จะมีมูเลย์ติดตั้งอยู่หนึ่งตัว จะเรียกว่ามูเลย์ขับ และจะมีอีกหนึ่งตัวเป็นตัวตามแต่จะอยู่อีกเพลาหนึ่ง โดยทั้ง 2 เพลานี้จะมีสายพานโลหะต่อเนื่องถึงกันและตัวมูเลย์ดังกล่าวนั้นสามารถปรับ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ตามความเร็วรอบ หมายความว่า รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยความเร็วต่ำ รอบเครื่องยนต์ก็ต่ำร่องของมูเลย์ตัวขับก็จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางที่เล็ก ส่วนทางด้านมูเลย์ตามนั้นเส้นผ่าศูนย์กลางนั้นจะใหญ่ ทำให้รถยนต์ขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่ต่ำนั่นเอง

แต่พอไต่ความเร็วขึ้นมาเรื่อยๆร่องของมูเลย์มี่ การปรับเปลี่ยนเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างต่อเนื่องและการขับขี่ก็เป็นไปอย่าง นุ่มนวลต่อเนื่องราบเรียบ แต่พอต้องการความเร็วสูงนั้น มูเลย์ตัวขับจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางที่กว้างขึ้นหรือใหญ่ขึ้น ส่วนทางด้านมูเลย์ตามนั้นก็จะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่แคบลงหรือเล็กลง เป็นผลให้มีรอบของการหมุนเพิ่มขึ้น ทำให้รถยนต์มีความเร็วที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน และนี่คือภาพของการทำงานอย่างเข้าใจแบบไม่ซับซ้อนหรืออย่างง่ายๆครับ

การทำงานของเกียร์ cvt ที่เป็นอย่างต่อเนื่องนั้นนอกจาก ความนุ่มนวลแล้วยังมีในเรื่องของความประหยัดเชื้อเพลิงอีกด้วย แต่ถึงอย่างไรทั้งนี้และทั้งนั้นขึ้นอยู่กับพฤติกรรมด้านการขับขี่ไปพร้อมๆ กันด้วย หากมีการขับกระชากแบบรุนแรงแล้วจะมีการเสียหายที่รวดเร็ว สำหรับเกียร์ cvt ในบางครั้งอาจจะไม่ชินกับผู้ที่ขับรถเร็วเพราะว่าการตอบสนองบวกกับความเร้า ใจของการขับไม่ได้ดังที่ใจต้องการ ไม่เหมือนรถก่อนหน้านี้ที่เคยใช้มา ไม่ว่าจะเป็น ปุ่ม o/d , ปุ่ม ect PWR และอื่นๆ ซึ่งก็อาจเป็นไปได้ เป็นต้น

หลายคนอาจจะคงเคยเห็นลักษณะของเกียร์ประเภทอย่างนี้กันมาบ้าง แล้ว เช่น ในรถกอล์ฟ หากมีการใส่เกียร์เดินหน้าแล้วเหยียบคันเร่งก็จะมีการเพิ่มความเร็วขึ้น เรื่อยๆตามสภาวะของมูเลย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่าคล้ายกัน แต่สิ่งที่ไม่เหมือนกันนั้นจะมีส่วนประกอบอื่นมาเป็นปัจจัยในการทำงานที่มาก ขึ้นรวมถึงระบบต่างๆ เช่น ระบบอิเล็กทรอนิค, โครงสร้างของกลไกต่าง เป็นต้น

อาจะมีคำถามว่า...แล้วเกียร์อัตโนมัติประเภทไหนจะใช้งานได้ดีที่สุด อัน นี้คงตอบยากเพราะผู้ผลิตรถยนต์คงคำนวณเป็นอย่างดีแล้วว่าเหมาะสมที่จะบรรจุ อยู่ในรถยนต์รุ่นใดอย่างไร คงเป็นไปไม่ได้ที่ผู้ใช้รถยนต์จะเป็นผู้กำหนดระบบส่งกำลังเอง ดังนั้น หากรถยนต์ของท่านผู้อ่านมีระบบส่งกำลังแบบใด เกียร์ประเภทอย่างไร ถ้าเป็นไปได้ควรทำความเข้าใจกับระบบเกียร์ที่ท่านใช้อยู่ย่อมเกิดประโยชน์ แก่ท่านผู้อ่านครับ

ประหยัดง่ายๆกับไฮบริด


เรื่องราวของเครื่องยนต์ไฮบริดที่บอกว่าประหยัดกว่าน้ำมันเชื้อเพลิงนั้น ได้พิสูจน์แล้วว่ามีความประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงหรือมีการบริโภคน้ำมันเชื้อ เพลิงน้อยลงจริงๆ เปรียบเทียบกับรถยนต์ที่มีปริมาตรความจุกระบอกสูบที่น้อยกว่าก็ตาม และในการนี้เพื่อให้รถยนต์ ไฮบริดมีความประหยัดอย่างสูงสุด ถ้าเป็นไปได้โดยให้ผู้ขับขี่ ปฏิบัติตามขั้นตอนตามที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้

*เมื่อต้องการออกตัว*
1. ให้เหยียบเบรก
2. เข้าเกียร์D
3. ปลด parleing Brake
4. เหยียบคันเร่งเบาๆ

ให้สังเกต บนมาตรวัดหน้าจอจะแสดงการออกตัวด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า ถ้ากำลังไฟในแบตเตอรี่ไฮบริดไม่เพียงพอ เครื่องยนต์จะทำงานโดยอัตโนมัติ เพื่อทำการชาร์จไฟกลับเข้าไปไว้ที่แบตเตอร์ไฮบริด

*เมื่อต้องการเร่งความเร็ว*
ให้สังเกตหน้าจอแสดงผลบนมาตรวัด จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งจะได้กำลังเสริมจากแบตเตอร์ไฮบริดโดยตรงในขณะเร่งความเร็ว จะเห็นได้ว่าหัวลูกศรทั้ง2อย่าง จะส่งไปยังล้อขับเคลื่อน หากมีเสียงดังเกิดขึ้นบ้างถือว่าเป็นเสียงปกติของมอเตอร์ทำงาน

*เมื่อต้องการขับแบบประหยัด*
ให้สังเกตมาตรวัด ทางซ้ายมือของหน้าจอ เข็มมาตรวัดหากชี้อยู่ทางด้านล่างในหมายความว่า ขับขี่อย่างประหยัดสูงสุด เพราะเป็นการขับเคลื่อนโดยระบบไฟฟ้า(E MODE) จะไม่มีการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงแต่อย่างใด หากว่า เข็มบนมาตรวัด ชี้อยู่ที่ตัวเลข20 นั่นหมายความว่า มีอัตราการสิ้นเปลืองของน้ำมันอยู่ที่ 20 กิโลเมตรต่อลิตร อันนี้ถือว่าเป็นการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงเช่นกัน แต่ถ้าหากว่าเข็มบนมาตรวัดชี้ขึ้นทางด้านบนเกินตำแหน่ง10 หรือเลยแถบสีเขียวอันนี้ถือว่าใช้น้ำมันเชื้อเพลิงพอสมควรหรือค่อนข้างมาก นั่นเองครับ นอกจากนั้นเพื่อให้มีความประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างสมบูรณ์ผู้ขับขี่จะ ต้องมีการขับขี่ตามที่จะกล่าวถึงดังนี้

• การเบรก
การชะลอความเร็ว สามารถทำได้โดย การเหยียบเบรกหรือการใช้เกียร์B ขณะขับ
- ไม่ควรขับประชิดรถคันหน้าจนเกินไป
- ถอนคันเร่ง
- ค่อยๆเหยียบเบรกให้รถชะลอไม่ควรเหยียบเบรกอย่างรวดเร็วและรุนแรง เพราจะทำให้โอกาสในการชาร์จไฟมีน้อย
• ถ้าใช้ระบบเบรกไกล ยังช่วยชาร์จไฟให้มากขึ้น เรื่องยนต์จะทำงานน้อยลง
- ตำแหน่งเกียร์ B ความเร็วของรถจะลดลง ด้วยแรงหน่วงจากมอเตอร์ไฟฟ้า การชาร์จไฟจึงเป็นการเปลี่ยนกำลังที่สูญเปล่าเป็นไฟฟ้า เพื่อเก็บในแบตเตอรี่ไฮบริดเพื่อการขับครั้งต่อไป และการชาร์จไฟกลับนั้นไม่ว่าจะเป็นการถอนคันเร่งแล้วให้รถไหล, ชะลอความเร็วหรือเหยียบเบรก, หรือจังหวะนั้นกำลังไฟ แบตเตอร์ไฮบริดนิ่ง เครื่องยนต์ก็จะติดเพื่อชาร์จไฟ
• การหยุดรถ
การหยุดรถเพียงเวลาสั้นๆ สามารถหยุดด้วยเกียร์ N ได้ แต่หากกำลังไฟในแบตเตอรี่ไฮบริดวิ่งกว่าระดับจะมีข้อความเตือนให้ผู้ขับขี่ เข้าเกียร์ P แต่เพื่อให้รถยนต์ไฮบริดมีความประหยัดเมื่อมีการจอดรถให้เข้าเกียร์ P ทุกครั้ง เพื่อให้ระบบมีการชาร์จไฟในกรณีหยุดรถนานๆเช่น รถติดไฟแดง, ติดขบวนรถไฟ, จอดรถภารกิจต่างๆ เป็นต้น และที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นวิธีการใช้รถยนต์ไฮบริดอย่างคุ้มค่าและถูกต้อง ก็เพื่อความประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างสูงสุดนั่นเองครับ นอกจากนั้น รถยนต์ไฮบริดของโตโยต้า ยังเลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงได้หลายประเภทไม่ว่าจะเป็น แก๊สโซฮอล์ E10 91 และ E10 95 และอ๊อกเทน 91 ขึ้นไปได้อีกด้วย

ดังนั้น หากผู้ขับขี่รถยนต์ไฮบริด สามารถกระทำได้ตามที่กล่าวมา จะพบว่า อัตราการกินน้ำมันเชื้อเพลิงจะประหยัดถึงได้ถึง57% สำหรับการใช้งานในเมือง ความเร็วน้อยกว่า 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและ24% สำหรับวิ่งทางไกลนอกเมือง ความเร็ว 80-120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และนี้คือสุดยอดนวัตกรรมจากโตโยต้า

การดูแลรักษาเครื่องยนต์

เครื่องยนต์
ทุกๆ ระยะทางหรือเวลา
ตรวจสอบระดับน้ำมันหล่อลื่น ทุกครั้งที่เข้าปั๊มเติมน้ำมันเชื้อเพลิง หรือสับดาห์ละครั้ง
เปลี่ยนน้ำมันหล่อลื่น 3,000 - 5,000 กิโลเมตร (1 ปี)
เปลี่ยนกรองน้ำมันหล่อลื่น ทุกครั้งที่เปลี่ยนน้ำมันหล่อลื่น
ตรวจสอบระยะช่องว่างของวาล์ว ถ้าไม่เหมาะสม ก็ตั้งวาล์วใหม่ 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ระบบจุดระเบิด

ตั้งระยะหน้าทองขาว และเขี้ยวหัวเทียน 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
เปลี่ยนชุดทองขาว และคอนเดนเซอร์ 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
เปลี่ยนหัวเทียน 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ตรวจสอบสายหัวเทียน 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
เปลี่ยนสายหัวเทียน 60,000 กิโลเมตร (3 ปี)
ตรวจสอบฝาครอบจานจ่าย และหัวนักกระจอก (หัวโรเตอร์) 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ปรับไทม์มิ่งจุดระเบิด ทุกครั้งที่ตั้งระยะหน้าทองขาว
แบตเตอรี่

ตรวจสอบระดับของเหลวในแบตเตอรี่ ทุกสัปดาห์
ทำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
ระบบหล่อเย็น

ตรวจสอบระดับน้ำหล่อเย็น ทุกสัปดาห์
ตรวจสอบสภาพท่อน้ำหล่อเย็น 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
ตรวจสอบฝาหม้อน้ำ 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
ตรวจสอบสายพาน และปรับความตึง 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
เปลี่ยนสายพาน 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
เปลี่ยนน้ำหล่อเย็น 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ล้างหม้อน้ำ 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ระบบเชื้อเพลิง

ทำความสะอาดกรองอากาศ

5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)

เปลี่ยนกรองอากาศ 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
เปลี่ยนกรองน้ำมันเชื้อเพลิง 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
ล้าง และทำความสะอาดคาร์บูเรเตอร์ 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
ตรวจสอบวาล์ว พีซีวี 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
เครื่องปรับอากาศ

ทำความสะอาดคอยล์ร้อน 5,000 กิโลมตร (3 เดือน)
ตรวจสอบรอยรั่วที่ข้อต่อ 5,000 กิโลมตร (3 เดือน)
ตรวจสอบปริมาณน้ำยาทำความเย็น 5,000 กิโลมตร (3 เดือน)
ตรวจสอบ และปรับสายพานแอร์ 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
เปลี่ยนสายพานแอร์ 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
เปิดเครื่องปรับอากาศ ให้ทำงาน 3-4 นาที สัปดาห์ละครั้ง ถึงแม้จะเป็นฤดูหนาว
ระบบถ่ายทอดกำลัง

เปลี่ยนน้ำมันเกียร์ 30,000 กิโลเมตร (1 1/2 ปี)
เปลี่ยนน้ำมันเฟืองท้าย 20,000 กิโลเมตร (2 ปี)
อัดจาระบี ลูกปืน เพลากลาง 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
เปลี่ยนจาระบีลูกปืนล้อ 20,000 กิโลเมตร (1 ปี)
ตรวจสอบ ระยะฟรีของแป้นคลัตช์ 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
ตรวจสอบน้ำมันคลัตช์ (ถ้าเป็นระบบไฮดรอลิก) 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
ตรวจสอบระดับ น้ำมันเกียร์อัตโนมัติ 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
เปลี่ยนน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
ระบบเบรค

ตรวจสอบระดับน้ำมันเบรค 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
ตรวจสอบสภาพเบรค 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
ปรับเบรคมือ ตามความจำเป็น
ระบบบังคับเลี้ยวเพาเวอร์

ตรวจสอบระดับน้ำมันในปั้ม 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
ตรวจสอบความตึงของสายพานขับปั้ม 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
เปลี่ยนสายพานขับปั้ม 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
ยาง

ตรวจสภาพการสึกของยาง 1,500 กิโลเมตร (1 เดือน)
สับเปลี่ยนตำแหน่งของยาง 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
ตรวจสอบความดันลมในยาง 2 สัปดาห์
ตรวจความลึกของดอกยาง 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)
ทำความสะอาดยาง ตามความจำเป็น
อุปกรณ์ปัดน้ำฝน

ตรวตสอบใบปัดน้ำฝน 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
เปลี่ยนใบปัดน้ำฝน 40,000 กิโลเมตร (2 ปี)
ตรวจสอบการทำงานของหัวฉีด 5,000 กิโลเมตร (3 เดือน)
หล่อลื่นข้อต่อต่างๆ 10,000 กิโลเมตร (6 เดือน)






donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved