Custom Search
donate car tax deduction | donate car to charity | donate car to charity california | donate car to charity los angeles | donate car without title | donate cars for kids | donate my car | donate my car to charity | donate your car | donate your car bay area | donate your car california | donate your car for kids | donate your car in maryland | donate your car nyc | donate your car tax deduction | donate your car to charity
รauto donation charities | best car donation program | best charity car donation program | best place to donate car | best place to donate car for tax deduction | california car donation | california donate car | car donation | car donation bay area | car donation ca | car donation california | car donation dc | car donation deduction | car donation in california |

ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบะเกียร์

  ระบบเกียร์
                ระบบเกียร์มีหน้าที่   เปลี่ยนกำลังหมุนที่มาจากเครื่องยนต์ไปยังกำลังขับเคลื่อน  และจากนั้นจึงควบคุมการทำงานของมันไปยังล้อขับเคลื่อน   รถยกพลังเครื่องยนต์โดยส่วนใหญ่มี   ระบบเกียร์แบบธรรมดา  หรือระบบเกียร์ Power shift   ชนิดใดชนิดหนึ่ง  อย่างเช่น    ระบบเกียร์ที่ส่งถ่ายกำลังด้วยของเหลว   (Hydrodynamic transmission) หรือระบบเกียร์ไฮโดรสถิต (Hydrostatic transmission)
ระบบเกียร์แบบธรรมดา
                ระบบเกียร์แบบธรรมดา  คือ    ระบบเกียร์ที่มีคันเหยียบคลัทช์    และกระปุกเกียร์เหมือนกับระบบเกียร์ในรถยนต์มาตรฐาน  ผู้ปฏิบัติงานต้องกดคันเหยียบคลัทช์และเลื่อนคันโยกเกียร์ด้วยตัวเองเพื่อเปลี่ยนเกียร์ ระบบเกียร์แบบธรรมดานี้  ยังคงเป็นตัวเลือกยอดนิยมสำหรับรถยก  เนื่องจากเสียค่าใช้จ่ายแรกเริ่มน้อยกว่าระบบเกียร์ Power shift และง่ายต่อการดูแลรักษา





ระบบเกียร์  Power shift   แบบส่งถ่ายกำลังด้วยของเหลว
                โดยปรกติแล้ว  รถยกที่มีระบบเกียร์ Power shift  ของโตโยต้าจะมีเลข   02-, 62-  หรือ 42  ระบุอยู่ด้านหน้าเลขโมเดล ในระบบเกียร์ Power shift เหล่านี้   จะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่าอุปกรณ์ปรับแรงบิดทำหน้าที่แทนคลัตช์  ซึ่งจะเปลี่ยนแรงบิดโดยอัตโนมัติเพื่อให้เข้ากับความต้องการ อุปกรณ์ปรับแรงบิดเป็นส่วนประกอบสำคัญของระบบเกียร์ซึ่งประกอบไปด้วยจานคลัตช์ที่ทำงานด้วยไฮดรอลิกมากมาย   ผู้ใช้งานเพียงแค่ใช้คันโยกควบคุมทิศทางเพื่อเปลี่ยนว่าจะเคลื่อนไปด้านหน้าหรือด้านหลัง   ประโยชน์อย่างหนึ่งที่จะได้รับจากระบบเกียร์ชนิดนี้คือ   ผู้ใช้ไม่ต้องเหยียบคลัตช์หรือวุ่นวายเกี่ยวกับเกียร์   ผู้ใช้เพียงแต่เลือกทิศทางที่ต้องการ   และแค่เหยียบตัวคันเร่ง    สิ่งหนึ่งที่ไม่เหมือนรถยนต์ทั่วไปก็คือ   การเปลี่ยนไปใช้ความเร็วสูงหรือต่ำนั้นผู้ใช้ต้องทำด้วยตนเอง  โดยการเลื่อนคันโยกภายหลังที่รถเคลื่อนที่แล้ว





ระบบเกียร์ไฮโดรสถิตย์
                โดยทั่วไปแล้วระบบเกียร์ไฮโดรสถิตย์จะถูกใช้กับรถตักใหญ่  ซึ่งก็เหมือนที่ชื่อบอก ยานพาหนะเหล่านี้ถูกบังคับทิศทางโดยกระจายกำลังไปที่ล้อทั้งสองด้าน   การเคลื่อนที่และการบังคับทิศทางของรถประเภทนี้เหมือนกับรถแทรกเตอร์เกลี่ยดิน   หรือรถถัง
                ในระบบเกียร์ไฮโดรสถิตย์   เครื่องยนต์จะทำหน้าที่หมุนปั๊มไฮดรอลิก    ซึ่งส่งแรงดันไปยังสารไฮดรอลิก สารนั้นจะให้กำลังมอเตอร์ไฮดรอลิกต่างๆ ที่ถูกเชื่อมต่อกับล้อขับเคลื่อน  การเลือกทิศทาง ความเร็วขับเคลื่อนและการควบคุมทิศทางนั้นจะถูกควบคุม   โดยปริมาณสารไฮดรอลิกที่ถูกส่งเข้าไปยังมอเตอร์ไฮดรอลิกทั้งหมด
                จานเอียงถูกติดที่ปั๊ม   การเอียงของจานนี้จะควบคุมทิศทาง   และจำนวนกระแสน้ำมันที่ไหลไปยังมอเตอร์ จานนี้ถูกเชื่อมต่อกับคันโยกในห้องผู้โดยสาร  ผู้ใช้เลื่อนคันโยกไปด้านหน้าหรือด้านหลัง เพื่อควบคุมความเร็วและทิศทางของตัวมอเตอร์


                อัตราทดเกียร์:  อัตราทดเกียร์คือ  อัตราระหว่างความเร็วเครื่องยนต์และความเร็วของเพลากลาง  พึงจำไว้ว่าความเร็วของการหมุนในลักษณะนี้ถูกเรียกว่า  “RPM”  หรืออัตรารอบหมุน / นาที  ซึ่งมีสูตรที่ง่าย ๆ ดังนี้: อัตราทดเกียร์ =  อัตรารอบหมุน / นาทีของเพลากลาง  (อัตรารอบหมุน / นาทีของเครื่องยนต์)  หรืออีกนัยหนึ่ง อัตราใหญ่ในที่นี้หมายถึงกำลังรอบหมุน  / นาทีที่มาก  อัตรารอบหมุน / นาทีของเพลากลางจะต่ำ  แต่จำนวนแรงบิดจะเพิ่มสูงขึ้น ในทางกลับกัน อัตราทดเกียร์น้อยก็จะหมายถึงรอบหมุน / นาทีที่เร็วขึ้นของเพลากลาง  แต่จำนวนแรงบิดลดต่ำลง
                คันเหยียบเคลื่อนน้อย:  คันเหยียบเคลื่อนน้อยเป็นหนึ่งในคุณลักษณะที่ทำให้ ระบบเกียร์ Power shift  แตก
ต่างจากระบบเกียร์อัตโนมัติสำหรับรถยนต์  คันเหยียบเคลื่อนน้อยนี้ถูกเชื่อมต่อกับคันเหยียบเบรก  และแป้นคลัตช์ในระบบเกียร์ Power shift    ความแตกต่างระหว่างคันเหยียบเคลื่อนน้อย  และคันเหยียบเบรกคือ   เมื่อกดคันเหยียบเบรก   กำลังทั้งหมดที่ถูกส่งไปยังระบบขับเคลื่อนจะหยุดชะงักลง   แต่เมื่อกดคันเหยียบเคลื่อนน้อย   ซึ่งเป็นการลดแรงดันน้ำมันไปที่คลัตช์    จึงทำให้เกิดผลเหมือน   การเหยียบคลัตช์เพียงครึ่งเดียว    ซึ่งทำให้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของรถยกได้อย่างแม่นยำแม้ว่าเครื่องยนต์กำลังทำงานอย่างเต็มกำลัง
                เหล่านี้หมายความว่าเครื่องยนต์สามารถทำงานได้อย่างเต็มกำลัง   เพื่อยกสิ่งของในขณะที่คันเหยียบเคลื่อนน้อยก็จะถูกใช้   เพื่อเลือกตำแหน่งที่รถยกควรวางของที่บรรทุกไว้ได้อย่างแม่นยำ
คันโยกและคันเหยียบเลือกทิศทาง
                โตโยต้าใช้คันโยกเลือกทิศทางสำหรับรถยกทุกรุ่น  อย่างไรก็ตาม พึงจำไว้ว่าไม่ใช่ผู้ผลิตทั้งหมดจะเลือกใช้คันโยกควบคุมทิศทางนี้ ผู้ผลิตบางรายใช้คันเหยียบแทน  ผู้ปฏิบัติงานกดคันเหยียบเพื่อควบคุมทิศทางที่เขาต้องการขับเคลื่อนไป  ทฤษฎีเบื้องหลังเรื่องนี้ก็คือผู้ปฏิบัติงานยังสามารถถือพวงมาลัยหรือตัวควบคุมอื่น ๆ  ได้ในขณะที่ใช้เท้าเลือกทิศทาง  โตโยต้านั้นใช้คันโยกโดยเหตุผลหลายประการ   นั่นคือมันถูกควบคุมแบบแมนนวล   และให้ผู้ใช้
งานมองเห็นทิศทางการขับเคลื่อนได้อย่างแน่นอน   เนื่องจากคันโยกเป็นตัวควบคุมการทำงาน  จึงเป็นไปไม่ได้เลยที่ทิศทางขับเคลื่อนนั้นจะมีความผิดพลาด   โตโยต้ายังใช้สวิตช์ควบคุมความปลอดภัยเกียร์ว่าง    สวิตช์นี้ป้องกันรถยกจากการติดเครื่อง  เมื่อคันโยกเปลี่ยนทิศทางอยู่ในต่ำแหน่งอื่นๆ  ที่ไม่ใช่ตำแหน่งเกียร์ว่าง ส่วนชนิดเลือกทิศทางด้วยคันเหยียบนั้นไม่มีฟังก์ชั่นนี้    ดังนั้นรถยกจะเคลื่อนที่ไปด้านหน้าทันทีที่รถติด










ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบเตรื่องยนต์


หัวฉีดน้ำมันดีเซล
                เครื่องยนต์ดีเซลไม่จำเป็นต้องใช้ระบบการจุดระเบิด   แต่จะใช้การฉีดน้ำมันไปยังอากาศ  ซึ่งถูกทำให้ร้อนโดยการบิดอัดภายในกระบอกสูบเพื่อให้ได้การสันดาป  ในส่วนนี้จะให้รายละเอียดของชนิดวิธีการฉีด  2  วิธีหลัก: คือ   Direct injection   และ   Indirect injection
ชนิด  Direct Injection  ( เครื่อง 2Z, 13Z  และ 14Z )
                ดังที่ชื่อบอกชนิดของหัวฉีด   Direct injection    จะสเปรย์  หรือฉีดน้ำมันดีเซลไปยังห้องสันดาปโดยตรงเพื่อให้เกิดการจุดระเบิด   ในตัวหัวฉีดน้ำมันดีเซล 1   ตัว   นั้นจะมีรูเล็ก ๆ มากมายที่จะแปลงน้ำมันที่ถูกฉีดเข้าไปให้เป็นละอองน้ำมันเพื่อให้ได้การสันดาปที่มากกว่า
 
ชนิด  In-Direct Injection   ( เครื่อง 1DZ  และ 1DZ-II )
                สำหรับหัวฉีดชนิดนี้  จะมีห้องเล็ก ๆ  อยู่ภายนอกห้องสันดาป หรือที่เรียกว่าห้องก่อนการสันดาป  ซึ่งถูกเชื่อมต่อโดยทางผ่านไปยังห้องสันดาป   โดยน้ำมันจะถูกฉีดไปยังห้องก่อนการ   ซึ่งทำให้น้ำมันเกิดการจุดระเบิดและกระจายตัวไปยังห้องสันดาป
 
(b) คุณลักษณะเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
เครื่องยนต์แก๊สโซลีนของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อมองโดยรวม
                มีเครื่องยนต์แก๊สโซลีนให้เลือกใช้  4  รุ่น  สำหรับยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรมของยานยนต์อุตสาหกรรม  (เมื่อเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2544)  ซึ่งแต่ละรุ่นมีขนาดเครื่อง  และ  Output  ต่าง  ๆ ที่ตรงกับชนิดของงานที่แตกต่างกัน พึงจำไว้ว่าจริง  ๆ   แล้วเครื่องยนต์เหล่านี้บางตัว  อาจมีส่วนประกอบที่เหมือนกันกับในเครื่องยนต์อื่น ๆ  แต่ถูกปรับแต่งพิเศษจนได้ระดับพลังงานและแรงบิดเฉพาะเพื่อเหมาะสมการสภาพการลำเลียงสิ่งของที่แตกต่างกัน
                ในช่วงทศวรรษ 1970 ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เครื่องยนต์แก๊สโซลีน  4 รุ่น แตกต่างกันในยานยนต์อุตสาหกรรม: เครื่อง 3P  ขนาด 1,345 ซีซี ,  เครื่อง  2R   ขนาด  1,490  ซีซี ;   และเครื่องแก๊สโซลีน  5R   4  กระบอกสูบ  ขนาด  1,994  ซีซี   เช่นเดียวกัน เครื่องยนต์  F 6  กระบอกสูบ  ขนาด  3,873  ซีซี   เครื่องยนต์  P series   เป็นที่รู้จักกันดีนั้น  มีวิวัฒนาการจากเครื่อง  3P   ในช่วงต้นทศวรรษ  1970   ไปเป็นเครื่อง  4P   ขนาด  1,493  ซีซี    และไปเป็นเครื่อง  5P    ขนาด  2,771  ซีซี ในช่วงกลางทศวรรษ  1970  ในภายหลัง  ส่วนเครื่อง F series  ได้เปลี่ยนไปเป็นเครื่อง 2F ขนาด 4,230 ซีซี  ในช่วงปลายทศวรรษ 1980  และเปลี่ยนไปเป็นเครื่องยนต์ 3F  ขนาด 3,955  ซีซี   ในช่วงต้นทศวรรษ 1990
                ในช่วงที่มีการเปลี่ยนรุ่น series 1 ถึง 3  ตัน  เต็มรูปแบบในช่วงกลางทศวรรษ 1980  เครื่องยนต์ 4Y ขนาด 2,237  ซีซี   ได้เข้ามาแทนที่เครื่องยนต์  5P  และยังคงใช้เรื่อยมาจนถึงวันนี้   ในช่วงปลายทศวรรษ 1980   ได้มีการแนะนำเครื่องยนต์  5K ขนาด 1,486 ซีซี เข้าสู่ท้องตลาดเพื่อเข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ 5Pในขณะที่มีการใช้เครื่องยนต์ 5K   และ 4Y   ใน  series 1  ถึง  3.5 ตัน ซึ่งเครื่องทั้งสองรุ่นมีเพลาข้อเหวี่ยงถึง  5   ตัวอันจะช่วยเพิ่มความไว้วางใจให้รถได้   ยิ่งไปกว่านั้นเครื่องยนต์ 4Y มีการถ่วงดุลน้ำหนัก (ที่เพลาข้อเหวี่ยง) ถึง 8 จุดเพื่อช่วยลดการสั่นสะเทือน
ของเครื่องยนต์ได้อย่างมาก   เครื่องยนต์ 1FZ   ถูกใช้ในรุ่น  3.5  ถึง  5  ตัน





ห้องสันดาปรูปลิ่ม  (เครื่องยนต์  5K  และ  4 )
                “ลิ่ม   คือรูปทรงที่ได้ระหว่างลูกสูบและส่วนบนของห้องสันดาป   โดยปรกติแล้วพื้นที่ส่วนนี้จะมีรูปทรงครึ่งวงกลม  แต่ยานยนต์อุตสาหกรรมเห็นแล้วว่าทรงรูปลิ่มนั้นสร้างสภาพการผสมน้ำมันกับอากาศได้ดีที่สุด  สภาพการผสมหรือที่เรียกว่า   การหมุน  ที่ได้จากรูปทรงรูปลิ่มนั้นให้ประสิทธิภาพ   และกำลังของเชื้อเพลิงได้สมบูรณ์ที่สุดในช่วงการหมุน  1,000   ถึง  2,400   รอบต่อนาที   ในเครื่องยนต์ของยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรม
 
ห้องสันดาปทรงหลังคาห้าเหลี่ยม  (เครื่องยนต์  1FZ)
                ดังที่ชื่อบอก   หลังคาห้าเหลี่ยมหมายถึง   รูปทรงห้าเหลี่ยมที่ถูกสร้างขึ้นระหว่างลูกสูบ   และส่วนบนของห้องสันดาป  รูปทรงนี้เพิ่มกระแสการผสมภายในกระบอกสูบ   อันเป็นการช่วยปล่อยแก๊สไอเสียออกมา  รูปแบบนี้ยังช่วยสร้างกระแสน้ำมันหมุนวนภายในห้องสันดาป  เมื่อลูกสูบอยู่จุดบนสุดของการเหวี่ยงซึ่งช่วยลดเสียงกระแทก  ( เสียงกระแทก:  เสียงที่เหมือนการตอกตะปูอันเกิดขึ้นระหว่าง   การสันดาปที่ไม่เหมาะสมของการผสมเชื้อเพลิง )
 
ระบบการจุดระเบิดแบบองค์รวม (เครื่องยนต์ 5K และ 4Y)
                ระบบจุดระเบิดแบบองค์รวม  หรือ The Integrated Ignition Assembly (I.I.A) มีคอยล์จุดระเบิดและตัวจุดระเบิดที่ถูกสร้างเข้าไปในตัวจ่าย การออกแบบเช่นนี้ไม่เพียงแต่จะให้ระบบการจุดระเบิดที่กะทัดรัดและไม่ต้องใช้การดูแลรักษา (ไม่มีจุดใดที่ต้องเปลี่ยน) แล้ว  การจุดระเบิดไฟฟ้าจะส่งประกายไฟที่ร้อนกว่าที่ได้จากระบบดั้งเดิม ทั้งหมดนี้ให้การสันดาปที่ดีกว่าเพื่อประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงคุ้มกว่าและเกิดสารคาร์บอนในเครื่องยนต์น้อยลง


ห้องสันดาปรูปลิ่ม  (เครื่องยนต์  5K  และ  4 )
                ลิ่ม   คือรูปทรงที่ได้ระหว่างลูกสูบและส่วนบนของห้องสันดาป   โดยปรกติแล้วพื้นที่ส่วนนี้จะมีรูปทรงครึ่งวงกลม  แต่โตโยต้าเห็นแล้วว่าทรงรูปลิ่มนั้นสร้างสภาพการผสมน้ำมันกับอากาศได้ดีที่สุด  สภาพการผสมหรือที่เรียกว่า   การหมุน  ที่ได้จากรูปทรงรูปลิ่มนั้นให้ประสิทธิภาพ   และกำลังของเชื้อเพลิงได้สมบูรณ์ที่สุดในช่วงการหมุน  1,000   ถึง  2,400   รอบต่อนาที   ในเครื่องยนต์ของยานพาหนะเพื่อการอุตสาหกรรม

ห้องสันดาปทรงหลังคาห้าเหลี่ยม  (เครื่องยนต์  1FZ)
                ดังที่ชื่อบอก   หลังคาห้าเหลี่ยมหมายถึง   รูปทรงห้าเหลี่ยมที่ถูกสร้างขึ้นระหว่างลูกสูบ   และส่วนบนของห้องสันดาป  รูปทรงนี้เพิ่มกระแสการผสมภายในกระบอกสูบ   อันเป็นการช่วยปล่อยแก๊สไอเสียออกมา  รูปแบบนี้ยังช่วยสร้างกระแสน้ำมันหมุนวนภายในห้องสันดาป  เมื่อลูกสูบอยู่จุดบนสุดของการเหวี่ยงซึ่งช่วยลดเสียงกระแทก  ( เสียงกระแทก:  เสียงที่เหมือนการตอกตะปูอันเกิดขึ้นระหว่าง   การสันดาปที่ไม่เหมาะสมของการผสมเชื้อเพลิง )





ยานยนต์อุตสาหกรรม | ระบบส่งกำลัง

ยานยนต์อุตสาหกรรม ระบบส่งกำลัง
                แม้ว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจะมีระบบขับเคลื่อนล้อหน้า   โครงสร้างระบบส่งกำลังของยานยนต์อุตสาหกรรมนั้นเหมือนกับของรถกระบะ   (ปิกอัพ) มากกว่าของรถยนต์ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า  สำหรับรถกระบะปิกอัพพลังขับเคลื่อนที่เกิดจากเครื่องยนต์  นั้น   โดยปรกติแล้วจะถูกส่งไปยังอุปกรณ์ปรับแรงบิด  และจากนั้นก็ผ่านไปยังระบบเกียร์   เพลากลาง   เฟืองท้าย   และเพลาข้างจนไปถึงล้อขับเคลื่อนด้านหลัง  โดยสรุปก็คือ   ยานยนต์อุตสาหกรรมมีระบบการส่งกำลังเหมือนกับรถกระบะปิกอัพ
                ยานยนต์อุตสาหกรรมมีเพลาหน้าที่ทนทานแข็งแรง  และมีการบังคับทิศทางจากล้อหลัง  จุดสำคัญที่ควรจำไว้ก็คือไม่ว่าจะมีชนิดเกียร์ขับเคลื่อนแบบใด   จุดหมายก็คือ  การวางสิ่งที่บรรทุกให้ใกล้ล้อขับเคลื่อนให้ได้มากที่สุด   เพื่อให้ได้แรงดึงสูงสุด


 
1) เครื่องยนต์สำหรับยานพาหนะเพื่อยานยนต์อุตสาหกรรม
                ในขณะที่เครื่องยนต์ของรถยนต์ได้รับการออกแบบเพื่อให้พลัง  และแรงบิดสูงสุดเมื่อขับเคลื่อนด้วยความ
เร็วค่อนข้างสูง เครื่องยนต์ของรถยกอุตสาหกรรมกลับได้รับการออกแบบให้ขับเคลื่อน  ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยความเร็วในการทำงานที่ต่ำกว่า
                ลักษณะเด่นต่าง  ๆ  ที่จำเป็นสำหรับเครื่องยนต์ยานยนต์อุตสาหกรรม  ประกอบด้วยการให้แรงบิดสูงที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์ต่ำกว่า   โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเชื่อถือได้   การประหยัดเชื้อเพลิง    การปล่อยไอเสียที่ต่ำ   และไม่ส่งเสียงดัง
                ในการเปรียบเทียบเส้นกราฟพลังงานของเครื่องยนต์ที่ใช้ในรถยนต์   และเครื่องยนต์ที่ใช้ในยานยนต์อุตสาหกรรม  คุณจะเห็นได้ว่าแรงบิดสูงสุดนั้น  เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วบนเส้นกราฟพลังงานของยานยนต์อุตสาหกรรม    และช้ากว่าในเส้นกราฟพลังงานของรถยนต์   ทั้งนี้เป็นเพราะว่ายานยนต์อุตสาหกรรมจำเป็นต้องใช้แรงบิดสูงสุดเมื่อเครื่องยนต์อยู่ที่   rpms    ต่ำ

(a) แรงบิดสูงที่ความเร็วเครื่องยนต์ต่ำ
                มีความจำเป็นที่ต้องมีขั้นตอนต่าง ๆ  เพื่อใช้ในการป้องกันเครื่องยนต์ดับ   เมื่อระบบลำเลียงสิ่งของทำงานหรือเมื่อพวงมาลัยพาวเวอร์ทำงานในขณะที่เครื่องยนต์วิ่งด้วยความเร็วต่ำ   หรือไม่ได้เคลื่อนที่    เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือกใช้ระบบเชื้อเพลิง   ระบบจุดระเบิด   และระบบไอดีที่เข้ากัน
(b) การควบคุมความเร็วเครื่องยนต์โดยอุปกรณ์ปรับความเร็ว
          -   การควบคุมความเร็วเครื่องยนต์สูงสุด    ความเร็วสูงสุดของเครื่องยนต์มีอิทธิพลต่อปัจจัยต่าง   ๆ   อย่างมากมายอีกด้วยอย่างเช่น  เสียงรบกวนของการทำงาน   และความเร็วของปั๊มไฮดรอลิก     จึงมีการใช้อุปกรณ์ปรับความเร็ว    เพื่อควบคุมความเร็วสูงสุดของเครื่องยนต์
-   การควบคุมอุปกรณ์ปรับความเร็วที่แม่นยำ    มีความจำเป็นที่จะต้องมีการควบคุมอุปกรณ์ปรับความเร็ว
ที่แม่นยำ     เพื่อป้องกันสมรรถนะการทำงานของเครื่องยนต์ที่อาจลดลงอย่างน่าตกใจ  เมื่อบรรทุกสิ่งของจำนวน
มาก   เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือกอุปกรณ์ปรับความเร็วที่มีลักษณะเหมาะสมมากที่สุด

(C) เครื่องยนต์ที่ใช้ในการทำงานต่าง ๆ ที่หลากหลาย
                นอกเหนือจากงานต่าง ๆ  ที่รถยนต์สามารถทำได้  เครื่องยนต์ยานยนต์อุตสาหกรรมยังจะต้องทำงานอย่างเช่น  การเร่งเครื่องเมื่อยกสิ่งของที่บรรทุกได้ด้วย   เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้กว้างกว่า   เป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องเลือก  ระบบไอดี  ระบบจุดระเบิด   และระบบเชื้อเพลิงที่เหมาะสมที่สุด
ข้อความพิเศษ
อุปกรณ์ปรับความเร็ว
                โดยทั่วไป    บทบาทหน้าที่ของอุปกรณ์ปรับความเร็วในรถยนต์นั้นคือ    เพื่อป้องกันเครื่องยนต์ขับเคลื่อนด้วยความเร็วที่เกินอัตรารอบหมุน / นาทีสูงสุด   บทบาทหน้าที่ของมันในรถยกอุตสาหกรรมนั้นมีความซับซัอนมากกว่า และถูกใช้เพื่อให้ได้กำลัง   และแรงบิดสูงสุดที่อัตรารอบหมุน / นาที   ของเครื่องยนต์ที่ต่ำของยานยนต์อุตสาหกรรม
                หน้าที่ของอุปกรณ์ปรับความเร็วของยานยนต์อุตสาหกรรมประกอบด้วยปัจจัยต่าง ๆ  ต่อไปนี้
·        จำกัดความเร็วเครื่องยนต์สูงสุด ซึ่งไม่จำเป็นต่อยานยนต์อุตสาหกรรม
·        ใช้แรงบิดเครื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
·        ให้ความเร็วปั๊มไฮดรอลิกที่สมบูรณ์ที่สุด
·        ให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด
·        ช่วยลดเสียงรบกวน
·        ช่วยยืดอายุการใช้งาน

(a) คุณลักษณะของเครื่องยนต์ดีเซล
เครื่องยนต์ดีเซลของยานยนต์อุตสาหกรรมเมื่อมองโดยรวม
                ยานยนต์อุตสาหกรรมนำเสนอเครื่องยนต์ที่แตกต่างกันถึง  5  แบบ   พร้อมด้วยขนาดตัวเครื่องยนต์ที่แตกต่างกันเพื่อให้ตรงกับความต้องการใช้ยานยนต์อุตสาหกรรมได้กว้างกว่า  (เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2544)   พึงจำไว้ว่าจริง ๆ แล้วเครื่องยนต์เหล่านี้บางตัว  อาจมีส่วนประกอบที่เหมือนกันกับในเครื่องยนต์อื่น ๆ  แต่ถูกปรับแต่งพิเศษจนได้ระดับพลังงาน   และแรงบิดเฉพาะเพื่อเหมาะสมการสภาพการลำเลียงสิ่งของที่แตกต่างกัน
                ในตอนแรก   ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เพียงเครื่องยนต์ดีเซลแบบของรถยนต์   ซึ่งได้รับการปรับแต่งให้ใช่ในยานยนต์อุตสาหกรรมได้ ภายหลังเครื่องยนต์ดีเซลจึงได้รับการพัฒนา   เพื่อใช้ในยานยนต์อุตสาหกรรมเป็นการเฉพาะเท่านั้น
                ในช่วงเริ่มต้น   ยานยนต์อุตสาหกรรมใช้เครื่องยนต์ J  4  กระบอกสูบ  ระบบ  indirect injection  ขนาดเครื่อง  2,366 cc กับยานยนต์อุตสาหกรรม   จากวันนั้นถึงตอนนี้เครื่องยนต์  J series   มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดี  ในเรื่องให้กำลังที่สมดุลที่สุด ,  สมรรถนะ ,    และการทำงานที่คุ้มค่าแก่ยานยนต์อุตสาหกรรม
                ตั้งแต่เป็นที่รู้จัก เครื่องยนต์ J series   ได้ผ่านการอัพเกรดหลายครั้ง   เพื่อเพิ่มพลัง    และกำลังเครื่องมีการเปลี่ยนไปใช้เครื่องยนต์  2J  ขนาด  2,481 cc   ในการอัพเกรดครั้งแรกในช่วงปลายยุค  ค.ศ. 1970    เครื่องยนต์ 2J  ถูกใช้เรื่อยไปอย่างต่อเนื่อง    จนกระทั่งได้รับการพัฒนาไปเป็นเครื่องยนต์  1DZ   ขนาด  2,486  cc   ในช่วงกลางทศวรรษ  1980    ประโยชน์ของมันใน  1 to 3 ton series   ตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษ  1990  ได้ทำให้มันเป็นที่รู้จักในฐานะเครื่องยนต์ที่ไว้วางใจได้สูงพร้อมกับเสียงที่เบา    ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน    ภายหลังจึงติด
ตามมาด้วยเครื่องยนต์  1DZ-II    ที่ได้รับการพัฒนาเข้าสู่ท้องตลาด
                เครื่อง 1Z   4  กระบอกสูบ   ขนาดเครื่อง  2,953 cc   อันเป็นเครื่องยนต์ดีเซล  direct injection   เครื่องแรกของยานยนต์อุตสาหกรรมนั้นได้รับการพัฒนาในปี  1986   และไม่นานจากนั้นก็ถูกใช้ในรถรุ่น 2 to 3 ton ในช่วงกลางทศวรรษ 1990  เครื่องยนต์ 1Z   ถูกอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 2Z   ขนาด 3,469 cc   ในปัจจุบันยังคงใช้เครื่องยนต์ชนิดนี้ในรุ่น 2 to 3.5 ton   ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าให้การสตาร์ทเครื่องที่ง่าย  ใช้เชื้อเพลิงน้อย   และปล่อยไอเสียเพียงน้อยนิด
                เครื่องยนต์ 11Z  ระบบ direct injection  6  กระบอกสูบ  ขนาด 4,429 cc  ซึ่งถูกนำเข้าสู่ตลาดในช่วงปลายทศวรรษ  1980   เพื่อใช้ใน  3.5 ton series   ได้รับการอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 13Z  ขนาด 4,616 cc ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 ซึ่งตามมาด้วยเครื่องยนต์  12Z ขนาด 4,994 cc ที่ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1990 เพื่อใช้ใน 5 to 8 ton series ได้รับการอัพเกรดไปเป็นเครื่องยนต์ 14Z ขนาด 5,204 cc ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 และใช้เรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้











donate your car today | donate your vehicle | donating a car for taxes | donating car in california | donating my car tax deduction | donating used cars to charity | donation for cars | how donate car | how to donate a car | how to donate a car in california | how to donate my car | how to donate your car | i want to donate my car | junk car donation | places to donate cars | sacramento car donation | tax break for donating a car | tax deduction car donation | tax deduction for car donation | vehicle donate | vehicle donation | where can i donate my car | where to donate a car | where to donate car | where to donate my car

หมวดหมู่ยานยนต์

 
Support : A | B | C
Copyright © 2016. เทคโนโลยียานยนต์ - All Rights Reserved